นวัตกรรมการศึกษาในการพัฒนาทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่21;The Educational Innovation of Skill Development for Living in the 21st. Century
Main Article Content
Abstract
การศึกษาเป็นรากฐานสำคัญของการพัฒนาประเทศที่คาดหวังให้ทำบทบาทต่างๆในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ซึ่ง เป็นตัวช่วยขับเคลื่อนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและความรุ่งเรืองของประเทศ ปัจจุบันการพัฒนาการศึกษาไทยต้องเปลี่ยนแปลงไปตามบริบทของโลกที่ไม่อยู่นิ่งเพื่อก้าวสู่ศตวรรษใหม่โดยต้องมีเป้าประสงค์หลักของการศึกษาที่ชัดเจน มีระบบและกลไกที่จะขับเคลื่อนแนวนโยบายและยุทธศาสตร์ของชาติโดยต้องดำเนินการทั้งระบบครบวงจรมีความเข้าใจในภาพรวมเพื่อให้สามารถกำหนดทิศทางในการพัฒนาและผลักดันให้ทุกองค์ประกอบสามารถดำเนินไปได้อย่างสอดคล้องโดยความร่วมมือของทุกภาคส่วนเพื่อเตรียมความพร้อมเยาวชนให้มีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ซึ่งต้องให้ได้ทั้งสาระวิชาและทักษะ 3 ด้าน คือ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี และทักษะชีวิตและอาชีพ เพื่อความสำเร็จทั้งด้านการทำงานและการดำเนินชีวิต ดังนั้นการใช้นวัตกรรมการศึกษาจึงเป็นสิ่งจำเป็นทั้งด้านหลักสูตรที่หลากหลาย หลักสูตรบูรณาการที่สอดคล้องกับความแตกต่างของผู้เรียน ด้านการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ด้านสื่อการสอนที่ทันสมัยใช้เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ เครือข่ายสังคมออนไลน์ ด้านการประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้และด้านการบริหารจัดการที่อิสระและสอดคล้องกับศักยภาพและความพร้อมของโรงเรียนและชุมชน เพื่อสร้างพลังของการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย โดยร่วมกันขับเคลื่อนให้เกิดผลสำเร็จในการพัฒนาการศึกษาได้อย่างสมดุลและยั่งยืนตอบสนองพลวัตรการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 เพื่อเสริมสร้างสังคมไทยให้ก้าวสู่สังคมแห่งปัญญาการเรียนรู้
Education is the foundation of the country development that plays the important role of human resource development. It is expected to be a crucial factor to drive the economic growth and the country prosperity. In the new century, Thailand’s educational system needs immense changes in order to survive in the fast-moving world. The main educational goal must be clear with system and mechanism to drive the educational policies according to the nation strategies. These processes must be carried out in a complete cycle with explicit understanding of the overall picture of the system. In order to push forward all aspects of education to implementation, the cooperation of all sectors is required to create the body of knowledge on educational innovation to prepare young people with skills to survive living in the 21st. century. The knowledge and skills in three areas are expected: learning and innovation skills, media and technology skills, life skills, and career for success in both career and making a living. Therefore, the use of educational innovation is essential, new curriculum should be diversified and integrated with innovation. It should also be adjusted to fit distinguishable individuality’s expertise and interest. The educational innovation includes lifelong learning, new teaching media, computer echnology, social networking. Creative evaluation method is suggested to apply into all courses in accordance with the capacity and availability of educational institutes. Through this evelopment, the empowerment, equilibrium and sustainability of Thailand can be strengthen to battle against the fast-moving changes of the 21st. century, whereas Thailand can become an intellectual learning society.
Article Details
Every article published in the Romphruek Journal of the Humanities and Social Sciences is the opinion and point of view of the authors. Thery're not the viewpoint of Krirk University or the editored department. Any part or all of the articles for pablication must be clearly cited.
References
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. บทเรียนแห่งความสำเร็จในการบริหารจัดการโรงเรียน ZERO WASTE SCHOOL. (10 กันยายน 2559) สืบค้นจาก
http://www.deqp.go.th/mediaitem /7billiondreams 2558/learnsuccessZero.pdf.
ข่าวสำนักงานรัฐมนตรี. 287/2559 รมว.ศธ.บรรยายนโยบายสำคัญของศธ.ในการอบรมสัมมนาผู้บริหาร รร.ไทยรัฐวิทยาทั่วประเทศ. (10 สิงหาคม 2559) สืบค้นจาก http://www.moe.go.th/websm/2016/jul/287.html.
ข่าวสำนักงานรัฐมนตรี. 197/2559 นายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครูคืนความสุขให้ครูคืนครูให้นักเรียน. (11 สิงหาคม2559) สืบค้นจาก http://www.moe.go.th/websm/ 2016/may/202.html.
ข่าว pptv HD. ผลสอบ PISA สิงคโปร์รั้งอันดับ 1 “ไทย” คะแนนตกทุกวิชา. (16 ธันวาคม 2559) สืบค้นจาก https://www.pptvthailand.com/news/% E0.
ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์. (2559). แนวโน้มของหลักสูตรและการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม, 11(1), 1-15.
ทิศนา แขมมณี. (2557). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 18. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บุญเกื้อ ควรหาเวช. ตัวอย่างนวัตกรรมการศึกษา. (30 กรกฎาคม 2559) สืบค้นจาก
https://www.gotoknow.org/posts/279597.
ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. ผล PISA ประจานไทยเหลวทุกด้าน ทั้ง "หลักสูตร-ระบบสอน-วัดผล-ครู. (16 ธันวาคม 2559) สืบค้นจาก http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1481788873.
ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. ม.เอเชียฯเสริมแกร่ง นศ. สร้างการเรียนรู้สามมิติ. (16 กันยายน 2559)
สืบค้นจาก http://m.prachachat.net/news_ detail.php?newsid=1473922379.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2557). เติบโตเต็มตามศักยภาพสู่ศตวรรษที่ 21ของการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มนัสวี ศรีนนท์. (2559). วิเคราะห์แนวทางการจัดการศึกษาของประเทศฟินแลนด์ สิงคโปร์ เกาหลีและญี่ปุ่น.จุลสารนวัตกรรม, 11(41), 3-6.
วรวิทย์ นิเทศศิลป์. (2551). สื่อและนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้. ปทุมธานี : สกายบุ๊กส์.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี-สฤษดวงศ์.
วิจารณ์ พานิช. (2556). ทักษะแห่งอนาคตใหม่ : การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : โอเพ่นเวิลด์ส.
วิจารณ์ พานิช. ทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21. (3 กันยายน 2559) สืบค้นจาก
http://www.vcharkarn.com/ varticle/60454).
วิทยากร เชียงกูล. (2559). สภาวะการศึกษาไทย ปี 2557/2558 “จะปฏิรูปการศึกษาไทยให้ทันโลกในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างไร. กรุงเทพฯ : สำนักวิจัยและพัฒนาการศึกษา สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2556). การกำหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21. รายงานวิจัย สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, กรุงเทพฯ.
สมเกียรติ ตั้งกิจวาณิชย์ และคณะ. (2556). การจัดทำยุทธศาสตร์ศึกษาขั้นพื้นฐานให้เกิดความรับผิดชอบ. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศไทย.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. สัดส่วนของงบประมาณการศึกษาต่องบทั้งประเทศเปรียบเทียบนานาชาติ. (11 สิงหาคม 2559) สืบค้นจาก
http://stat-ed.onecapps.org/StatDetail.aspx?MenuID=15&SubID=4&MainID=1.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. การศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21. (26 มิถุนายน 2557) สืบค้นจาก
http://www.onec.go.th/onec_web/page.php?mod=Book&file=view&itemId=1316.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2557). แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 สกศ. รายงานการวิจัย สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ, กรุงเทพฯ.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. ชีพจรการศึกษาโลก. (1 สิงหาคม, 2559) สืบค้นจาก
http://www.onec.go.th/onec_web/page.php?mod=Eduworld&file=view&itemId= 1948.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. เด็กไทยในฝันโดยสภาการศึกษา. (17 กันยายน 2559) สืบค้นจาก
https://www.facebook.com/OECSocial/photos/a.
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย สพฐ. แนวทางการจัดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่เน้น สมรรถนะทางสาขาวิชาชีพ. (16 ธันวาคม 2559) สืบค้นจาก
http://www.secondary11.go.th/2016/th/download/files/guidance10.pdf.
โอกาสที่เสียไป : 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย. เอกสารงบประมาณปี 2549-2559 สถาบันอนาคตไทย. (เอกสารเผยแพร่)
Kamolchanok Yimchoy. นวัตกรรมการศึกษา “หุ่นยนต์ช่วยสอน”. (14 กันยายน 2559) สืบค้นจาก
http://newkamolchanok.blogspot.com/2013/08/blog-post_16.html.
Maxwell, Daniel and Peerasit Kamnuansilpa. No Place for Timidity in Education Reform. Bangkok Post : Opinion 23 July 2015. (18 สิงหาคม 2559) Retired from http://www.bangkokpost.Com opinion.