การบริหารจัดการห่วงโช่อุปทาน ของบริษัทเบียร์ลาวในนครหลวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป. ลาว)
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่อง การบริหารจัดการห่วงโช่อุปทาน ของบริษัทเบียร์ลาวในนครหลวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป. ลาว) มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการบริหารจัดการโซ่อุปทานของบริษัทเบียร์ลาว จำกัด เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการบริหารจัดการโซ่อุปทานของบริษัทเบียร์ลาว จำกัด และเพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารจัดการโซ่อุปทานของบริษัทเบียร์ลาว จำกัด ประชากรและกลุ่มตัวอย่างได้แก่พนักงานบริษัท เบียร์ลาว จำกัด สำนักงานใหญ่ในนครหลวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว (สปป.ลาว) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยใช้ t-test และ One way ANOVA.
ผลการวิจัยพบว่า พนักงานที่มี เพศ ประสบการณ์ สถานภาพ ต่างกัน การบริหารจัดการห่วงโช่อุปทาน ของบริษัทเบียร์ลาวในนครหลวงเวียงจันทน์สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว(สปป.ลาว)ไม่แตกต่างกัน ส่วน พนักงานที่มีอายุ การศึกษาและตำแหน่งงาน ต่างกัน การบริหารจัดการห่วงโช่อุปทาน ของบริษัทเบียร์ลาวในนครหลวงเวียงจันทน์สาธารณะรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว(สปป.ลาว)แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
คำสำคัญ: การบริหารจัดการ ; ห่วงโซ่อุปทาน ; บริษัทเบียร์ลาว ; นครหลวงเวียงจันทน์ ; สาธารณะรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป. ลาว)
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล ถือว่าเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือรับผิดชอบใดๆ
References
กนกวรรณ นาสมปอง. (2555). สภาพการให้บริการการศึกษาทางอินเทอร์เน็ตงานส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ. นครปฐม : สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
กรมการท่องเที่ยว. (2558). จำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: กรมการท่องเที่ยว.
กฤษณา รัตนพฤกษ์. (2545). การตลาดบริการ. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2557). อัตราการเข้าพักโรงแรมในจังหวัดภูเก็ต ประจำปี 2557. กรุงเทพฯ: การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.
ชัย สมพล ชาวประเสริฐ และสุพจน์ กฤษฎธาร. (2549). การบริหารงานขาย = Sales management.กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
เชิดศักดิ์ โฆวาสินธุ์. (2520). การวัดทัศนคติและบุคลิกภาพ. กรุงเทพฯ : สำนักทดสอบทางการศึกษา และจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ชูชัย สมิทธิไกร. (2553). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ติน ปรัชญพฤทธิ์. (2542). ทฤษฎีองค์การ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2557). จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางผ่านสำนักตรวจคนเข้าเมือง. กรุงเทพฯ: ธนาคารแห่งประเทศไทย.
ธัญญารัตน์บุญต่อ. (2552). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการโรงแรมเวสตินแกรนด์. สุขุมวิท. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ธีรกิติ นวรัตน ณ อยุธยา. (2552). การตลาดบริการแนวคิดและกลยุทธ์. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
สุนิษา เพ็ญทรัพย์. (2559).การศึกษาความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่ใช้บริการที่พักแบบรีสอร์ทในอำเภอเมือง จังหวัดระนอง. วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2559. วิทยาลันตพล อุดรธานี.
แสวง รัตนมงคลมาศ. (2536). การตัดสินใจทางสังคม การระดมมวลชนและการมีส่วนร่วม. กรุงเทพฯ: คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์.
อดุลย์ จาตุรงคกุล. (2536). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.