การใช้อำนาจของฝ่ายปกครองตามกฎหมายการชุมนุมสาธารณะของประเทศไทย

Main Article Content

yannawat ploytes

บทคัดย่อ

การชุมนุมสาธารณะในประเทศไทยเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ต่อมารัฐบาลได้มีการตรากฎหมายการชุมนุมสาธารณะ โดยเป็นไปตาม กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง : ICCPR แต่โดยหลักการของการใช้อำนาจของฝ่ายปกครองในการคุ้มครองประโยชน์สาธารณะ อาจไม่เป็นไปตามหลักกฎหมายที่มีความเป็นสากล ซึ่งเมื่อนำกฎหมายการชุมนุมสาธารณะของประเทศไทย เปรียบเทียบกับกฎหมายการชุมนุมสาธารณะของประเทศเยอรมนี ทำให้เห็นว่า หลักการสำคัญเกี่ยวกับการใช้อำนาจของฝ่ายปกครองตามกฎหมายของประเทศเยอรมนี เป็นหลักการที่ให้เสรีภาพมากกว่าหลักกฎหมายการชุมนุมสาธารณะของเขตปกครองพิเศษฮ่องกง ดังนั้น  จึงควรมีการปรับปรุงกฎหมายการชุมนุมสาธารณะของไทยให้สอดคล้องกับหลักการที่เป็นสากลมากยิ่งขึ้น

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

[1] กิจบดี ชินเบญจภุช. (2561). หลักกฎหมายมหาชน. พิมพ์ครั้งที่ 1 (ฉบับปรับปรุง). สำนักพิมพ์รามคำแหง.
[2] บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (2560). กฎหมายมหาชน. พิมพ์ครั้งที่ 11. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[3] บรรเจิด สิงคะเนติ. (2558). หลักพื้นฐานของสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามรัฐธรรมนูญ. พิมพ์ครั้งที่ 5 สำนักพิมพ์วิญญูชน.
[4] นันทวัฒน์ บรมานันท์. (2560). หลักกฎหมายปกครองเกี่ยวกับบริการสาธารณะ. พิมพ์ครั้งที่ 5 สำนักพิมพ์วิญญูชน.
[5] วรพจน์ วิศรุตพิชญ์. (2562). ข้อความคิดและหลักการพื้นฐานบางประการของกฎหมายปกครอง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน.
[6] วรเจตน์ ภาคีรัตน์. (2557). แนวคิดเกี่ยวกับเสรีภาพในการชุมนุมตามกฎหมายเยอรมันและสภาพการณ์ การชุมนุมในประเทศไทย. เอกสารการจัดเสวนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
[7] วรนารี สิงห์โต. (2553). กฎหมายเกี่ยวกับการชุมนุมและเดินขบวนและการบังคับทางปกครองตามคำสั่งสลายการชุมนุมและการเดินขบวนในระบบกฎหมายเยอรมัน. วารสารกฎหมายปกครอง เล่มที่ 27 ตอนที่ 1.
[8] พระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558.
[9] John Bordley Rawls. (1999). The Law of Peoples. Cambridge, MA: Harvard University Press.
[10] The Public Order Act. (1986). กฎหมายต่างประเทศ.
[11] Act on Assemblies and Elevators (Assembly Act). (1978).