การถ่ายทอดสังคมในการทำงานสู่การเป็นนวัตกร

Main Article Content

นิตยา สุภาภรณ์

บทคัดย่อ

บทความเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการถ่ายทอดสังคมในการทำงานไปสู่การเป็นนวัตกร ซึ่งมีช่วงที่สำคัญ คือ 1) ข่วงระยะเวลาก่อนเข้าสู่อาชีพ โดยผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการถ่ายทอดคือสถาบันครอบครัว มีบทบาทในการอบรมเลี้ยงดูและสร้างบรรยากาศให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ซึ่งเป็นพื้นฐานสู่การสร้างนวัตกรรม รองลงมาคือสถาบันการศึกษาซึ่งมีบทบาทในการถ่ายทอดสังคมในการทำงานที่จะผลิตคนให้สามารถสร้างนวัตกรรมได้ และ 2) ระยะเวลาการดำรงอาชีพ ผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการถ่ายทอดสังคมในการทำงานสู่การเป็นนวัตกร คือ กลุ่มงาน ได้แก่ เพื่อนร่วมงาน หัวหน้างาน และการสนับสนุนวัฒนธรรมองค์การที่ส่งเสริมให้มีการสร้างนวัตกรรม นอกจากนี้การถ่ายทอดแบบไม่เป็นทางการจะสามารถสร้างนวัตกรรมได้นั้นปัจจัยสำคัญ คือ แนวทางในการถ่ายทอดสังคมในการทำงานเริ่มตั้งแต่ระยะเวลาก่อนเข้าสู่อาชีพ องค์การจะต้องมีวิธีการคัดเลือกเพื่อให้ได้ทรัพยากรบุคคล
ที่สามารถสร้างนวัตกรรมได้ และที่สำคัญเมื่อได้พนักงานเข้ามาทำงานในองค์การแล้ว องค์การต้องมีแนวทางเพื่อการถ่ายทอดสังคมในการทำงานเพื่อให้พนักงานสามารถสร้างนวัตกรรมได้ โดยจะต้องคำนึงถึงตัวแทนในการถ่ายทอด เนื้อหาในการถ่ายทอด และวิธีการในการถ่ายทอดที่เหมาะสมในแต่ละบริบทขององค์การเพื่อให้สามารถพัฒนาพนักงานให้สร้างนวัตกรรมได้ ซึ่งบทความวิชาการนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับองค์การในการถ่ายทอดสังคมในการทำงานเพื่อพัฒนาพนักงานให้สามารถสร้างนวัตกรรมให้แก่องค์การได้ รวมทั้งเป็นแนวทางเพื่อนำไปวิจัยในอนาคตต่อไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

งามตา วนินทานนท์ (2545). การถ่ายทอดสังคมกับพัฒนาการของมนุษย์. สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ฐาศุกร์ จันประเสริฐ และ ณัฐพงษ์ ธรรมรักษาสิทธิ์. (2558). การถ่ายทอดสังคมเชิงวิชาชีพ : กระบวนการพัฒนาสู่ความเป็นมืออาชีพในชีวิตการทำงาน. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, (21)1, 193-205.

ตรีทิพ บุญแย้ม. (2554). ปัจจัยเชิงสาเหตุพหุระดับที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสร้างนวัตกรรมระดับบุคคล และระดับกลุ่มงานเพื่อสร้างนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ในบริษัทเอกชนไทย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ.

นฤชา ศิริวัฒน์. (2556). รูปแบบการพัฒนาบุคลากรสู่การเป็นนวัตกร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

พยัต วุฒิรงค์. (2559). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในทศวรรษหน้า.กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พูลสวัสดิ์เผ่าประพันธ์. (2557). B2B เคล็ดลับกระบวนการสร้างสรรค์นวัตกรรม. ค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2564, จาก http://www.7innovationawards.com/knowledge/detail-610.

แพรววิไล จันทร์บุญ และ กล้าหาญ ณ น่าน. (2564). การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การและแรงจูงใจที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานของข้าราชการธุรการกรณีศึกษา : สำนักงานอัยการสูงสุด. วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล, 7(2), 9-17.

ภานุกา แจ่มดอน. (2551). กระบวนการเข้าสู่อาชีพและสภาพการทำงานของผู้รับงานไปทำที่บ้าน : กรณีศึกษาผู้รับงานไปทำที่บ้านในกิจการตัดเย็บเสื้อผ้าชุมชนจิตภาวรรณ เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.

วรวุธ มัสพันธ์. (2556). ปัจจัยทางจิตสังคมที่ส่งผลต่อความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ.

วิรัติ ปานศิลา. (2542). การถ่ายทอดสังคมในการทำงาน จิตลักษณ์ และการรับรู้เกี่ยวกับบทบาทที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการทำงานของบุคลากรสาธารณสุขระดับตำบล ในภาคเหนือของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ.

สุวิทย์ เมษินทรีย์. (2559). สัมภาษณ์สุวิทย์ เมษิณทรีย์ Thailand 4.0. ค้นเมื่อ 26 ธันวาคม 2563, จากhttps://issu.com/adaybulletin/docs/adb431.

เสาวณี จันทะพงษ์ และขวัญรวี ยงต้นสกุล. (2559). “นวัตกรรม”: แรงขับเคลื่อนใหม่ของเศรษฐกิจไทย. ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2564, จาก https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAadPublications/DocLib_/Article19_07_59.pdf.

Allen, N.J., & Meyer, J.P. (1990). The Measurement and Antecedents of Affective, Continuance, and Commitment to the Organization. Journal of Occupational Psychology, 53, 337-318.

Champoux, J. E. Z. (2000). Organizational Behavior: Essential Tenets for a New Millennium. Singapore: South-Western College Publishing.

Chao, G. T., O'Leary-Kelly, A. M., Wolf, S., Klein, H. J., & Gardner, P. D. (1994). Organizational socialization: Its content and consequences. Journal of Applied Psychology, 79(5), 730–743.

Deaux, K. & Wrightsman, L. S. (1988). Social psychology (5th ed). Monterey, CA: Brooks/Cole.3.

Drucker, Peter F. (1991). The Discipline of Innovation. Innovation: Harvard Business Review Paperback. MA: Harvard Business School Publishing Division.

Dyer, J. H., Gregersen, H. B., & Christensen, C. M. (2009). The innovator's DNA. Harvard business review, 87(12), 60–128.

Feldman, D. C. (1981). The Multiple Socialization of Organization Members. The Academy of Management Review, 6(2), 309-318.

Fisher, C. D. (1986). Organizational Socialisation an Integrative Review. Research in Personnel and Human Resources Management, 4, 101-145.

Gelb, M. J., & Caldicott, S. M. (2007). Innovate Like Edison: The Five-Step System for Breakthrough Business Success: Penguin Publishing Group.

Işık, C., Aydın, E., Dogru, T., Rehman, A., Alvarado, R., Ahmad, M., & Irfan, M. (2021). The Nexus between Team Culture, Innovative Work Behaviour and Tacit Knowledge Sharing: Theory and Evidence. Sustainability, 13(8), 4333.

Katz, D., & Kahn, R.L. (1978). The Social Psychology of Organizations. New York: Wiley.

Kim, M.-S., & Koo, D.-W. (2017). Linking LMX, engagement, innovative behavior, and job performance in hotel employees. International Journal of Contemporary Hospitality Management, 29(12), 3044-3062.

Klein, H.J., & Weaver, N.A. (2000). Effectiveness of an Organizational-level Orientation Training Program in The Socialization of New Hires. Personnel Psychology, Inc., 53, 47-66.

Krause, D.E. (2004). Influence-based Leadership as a Determinant of The Inclination to Innovate and of Innovation-Related Behaviors: An Empirical Investigation. Leadership Quarterly, 15(1), 79-102.

Lee, J.; Oh, S., & Burnett, G. (2016). Organizational Socialization of Academic Librarians in the United States. The Journal of Academic Librarianship, 42, 382-389.

Mathisen, G, & Einarsen, S. (2004). A Review of Instruments Assessing Creative and Innovative Environment within Organizations. Creativity Research Journal, 119-140.

Sazabdrusgvuli, N. (2009). Contextual and Personal Antecedents of Innovative Behavior Mediation Effect of Learning Goal Orientation on The Relationship between job Anatomy and Innovative Behavior. Master Thesis Project. University of Twente. USA.

Schein, E. H. (1971). The Individual, the Organization, and the Career: A Conceptual Scheme. The Journal of Applied Behavioral Science, 7(4), 401–426.

Sethi, R., Smith, D. C., & Park, C. W. (2001). Cross-Functional Product Development Teams, Creativity, and the Innovativeness of New Consumer Products. Journal of Marketing Research, 38, 73 - 85.

Stryker. S. (1978). Symbolic Interaction an Approach to Family Research In Symbolic Interaction. A Reader in Social Psychology 3rd Manis, Jenome G; & Meltzer, Bernard N.. (Eds). Boston.

Super, D. E. (1975). Career Education and Career Guidance for the Life Span and for Life Roles. Journal of Career Education, 2(2), 27–42.

Super, D.E. (1990). A Life-Span, Life-Space Approach to Career Development. In D. Brown, L. Brooks & Associates (eds.) Career Choice and Development: Applying Contemporary Theories to Practice (2nd ed., pp. 197-261). San Francisco, CA: Jossey-Bass.

Van Maanen, J., & Schein, E. H. (1979). Toward a Theory of Organizational Socialization. Research in Organizational Behavior, 1, 209-264.

Waldeck, J., & Myers, K. (2008). Organizational Assimilation Theory, Research, and Implications for Multiple Areas of The Discipline: A State of The Art Review. Inc. Lawrence Erlbaum Associates Inc.