มุมมองการศึกษาไทย: ทำอย่างไรให้ไปสู่ความสำเร็จ
คำสำคัญ:
การศึกษาไทย, คุณภาพการศึกษาไทย, กรอบเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนบทคัดย่อ
แนวโน้มของสถานการณ์การศึกษาไทยยังคงเป็นเรื่องที่รัฐบาลทุกยุคสมัยต่างให้ความสำคัญเพื่อยกระดับมาตรฐานการศึกษาให้เท่าเทียมกับนานาประเทศ แต่ในทางตรงกันข้ามผลลัพธ์ของการศึกษาไทยยังคงอยู่ในขั้นวิกฤต สามารถสังเกต ได้จากผลการทดสอบในประเทศอาทิเช่น O-NET ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่คะแนนต่ำกว่าร้อยละ 50 โดยเฉพาะในกลุ่มสาระหลัก หรือผลการทดสอบการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ที่พบว่าผู้เรียนส่วนใหญ่มีคะแนนไม่ผ่านครึ่ง และมีแนวโน้มที่จะลดลงโดยเฉพาะวิชาที่เป็นความรู้พื้นฐาน และเมื่อเปรียบเทียบเด็กไทยในการแข่งขันในเวทีโลกโดยเฉพาะผลการประเมิน PISA ที่วัดความรู้ในวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และการอ่าน โดยผลลัพธ์ที่ได้คือเด็กไทยติดอันดับ 54 จาก 70 ประเทศที่เข้ารับการประเมิน ดังนั้นการพัฒนาการศึกษาไทยจึงควรเป็นเรื่องเร่งด่วนที่ต้องได้รับการพิจารณาและร่วมกันแก้ไขปัญหาจากทุกภาคส่วนในสังคม ดังนั้นในบทความนี้จะกล่าวถึงความพยายามที่จะพัฒนาการศึกษาให้มีความยั่งยืน สร้างความตระหนักให้กับผู้คนในสังคมไทยกับการเปลี่ยนแปลงสังคมโลก รวมไปถึงการให้ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาการศึกษาไทย เพื่อนำไปสู่คุณภาพการศึกษาและลดความเลื่อมล้ำในยุคปัจจุบัน
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 สำหรับเด็กอายุ 3-6 ปี. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กรีฑา สิมะวรา (2557). โอกาสทางการศึกษากับความเป็นธรรมในสังคม. วารสารสารสนเทศ, 13(2), 54-61.
กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา. (2563). ภาพรวมสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา. สืบค้นจาก https://www.eef.or.th/infographic-15-10-20/
ไทยรีพับริกา. (2563). เปิดพิกัดนักเรียน 7.3 ล้านคน เจาะลึกทำไม “การศึกษาไทย” เหลื่อมล้ำสูง. สืบค้นจาก https://thaipublica.org/2020/08/thai-education-high-inequality01/
ปังปอนด์ รักอำนวยกิจ. (2561). Policy Brief ข้อเสนอแนะต่อการปฏิรูปการศึกษา, แนวแนะวิธีการเลี้ยงดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพื่อเพิ่มคุณภาพเด็กตามวัย 0-5 ปี (น.37-43). กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
รัชวดี แสงมหะหมัด. (2560). ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา: คุณภาพสังคมที่คนไทยมองไม่เห็นออนไลน์. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, 8(1), 33-66.
เรวัต แสงสุริยงค์. (2561). ความพยายามลดช่องว่างด้านดิจิทัลในสังคมไทย. Veridian E-Journal Silapakorn University, 11(3), 1056-1084.
ลินดา วัชรเสถียรพงศ์. (2562). Lifelong learning ใช้ต่อกรกับความเปลี่ยนแปลงของโลกยุค Disruption. สืบค้นจาก https://www.salika.co/2019/11/17/lifelong-learning-skill-for-survive/
ศูนย์บริการวิชาการเศรษฐศาสตร์. (2559). ตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนโครงการประสานงานการวิจัยเพื่อสนับสนุน
การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs). คณะเศรษฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สืบค้นจาก https://sdgmove.com/
สำนักข่าวบีบีซีไทย. (2559). เวียดนามนำไทยทุกด้านในการสอบวัดระดับ PISA. สืบค้นจาก https://www.bbc.com/thai/thailand-38223294
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560ก). แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560ข). รายงานการสังเคราะห์ตัวชี้วัดด้านการศึกษาไทยตามกรอบเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2562). สภาวะการศึกษาไทย 2560/2561 ฐานข้อมูลกับการบรรลุตามเป้าหมายแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). รายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศ ประจำปี 2562. สืบค้นจาก http://nscr.nesdb.go.th/wp-content/uploads/2020/04/CR_For-Web.pdf
สุรพงษ์ มาลี. (2561). รู้จักสังคมผู้สูงอายุและสถานการณ์ผู้สูงอายุ (ในประเทศไทย), วารสารข้าราชการปี 2561, 60(4), 6-8.
สุบิน ไชยยะ, พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์, และปิยพงษ์ สุเมตติกุล. (2558). ทักษะที่จำเป็นต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตของนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัย : กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี. สงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 21(3), 149-176.
Heckman, J. J. (2013). Giving Kids A Fair Chance. Cambridge, Ma: The MIT Press, Boston Review Books.
Laal, M. & Laal, A. (2012). Lifelong Learning; Elements. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 47, 1562-1566. DOI: 10.1016/j.sbspro.2012.06.862
Mckinsey Global Institute. (2017). Jobs Lost, Jobs Gained: Workforce Transitions in A Time of Automation. Retrieved from https://www.mckinsey.com/~/media/McKinsey/Industries/Public%20and%20Social%20Sector/Our%20Insights/What%20the%20future%20of%20work%20will%20mean%20for%20jobs%20skills%20and%20wages/MGI-Jobs-Lost-Jobs-Gained-Executive-summary-December-6-2017.pdf
OECD. (2020). A Framwork to Guide an Education Response to The COVID-19 Pandemic of 2020. Paris: OECD Publishing.
UNESCO. (2019). Assessment of Transversal Competencies: Current Tools in the Asian Region. Retrieved from https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000368479
UNESCO. (2020). Inclusion and Education: All Means All. Retrieved from https://en.unesco.org/gem-report/2020/inclusion
UNESCO & UNICEF. (2015). Fixing the Broken Promise of Education for All. Retrieved from http://uis.unesco.org/sites/default/files/documents/fixing-broken-promise-efa-findings-global-initiative-oosc-education-2015-en_2.pdf
UNICEF Thailand. (2018). Early Childhood Development. Retrieved from https://www.unicef.org/thailand/what-we-do/early-childhood-development
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 สิกขา วารสารศึกษาศาสตร์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.