ความหมายรองของคำแสดงความขัดแย้ง “but” ในบทความข่าวธุรกิจ
คำสำคัญ:
ความหมายรอง, คำแสดงความขัดแย้ง but, บทความข่าวธุรกิจบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ศึกษาการใช้ความหมายรองของคำที่แสดงความขัดแย้ง “but” ที่ปรากฏอยู่ในตำแหน่งต้นประโยคในบทความข่าวธุรกิจ การศึกษานี้เก็บข้อมูลจากบทความข่าวธุรกิจ The New York Times ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์อเมริกันรายวันที่มียอดขายสูงและเผยแพร่ระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 ถึง 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 จำนวนคำประมาณทั้งสิ้น 150,000 คำ ประกอบด้วย 120 รูปประโยคที่มีใช้คำเชื่อม “but” กรอบแนวคิดของการวิเคราะห์ความหมายเชิงอรรถศาสตร์ในงานวิจัยนี้ดำเนินการตามแนวคิดตามความหมายตามพจนานุกรม การวิเคราะห์ข้อมูลได้รับการตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาศาสตร์เป็นจำนวนทั้งสิ้น 3 ท่าน
ผลจากการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าที่แสดงความหมายขัดแย้ง “but” ที่ปรากฏอยู่ในตำแหน่งต้นประโยคในบทความข่าวธุรกิจบ่งชี้ถึงการหักล้างแนวความคิดก่อนหน้า การคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคต และการแสดงความคิดเห็นเฉพาะส่วนบุคคล การอภิปรายผลแสดงให้เห็นว่าการใช้คำเชื่อมที่แสดงความหมายขัดแย้ง “but” ในการขึ้นต้นประโยคเป็นที่ยอมรับในตัวบทภาษาอังกฤษธุรกิจ ผลการวิจัยมีความสอดคล้องกับการศึกษาก่อนหน้านี้ การใช้คำเชื่อมที่แสดงความหมายขัดแย้ง “but” ขึ้นต้นประโยคถูกพบบ่อยในวารสารด้านเศรษฐศาสตร์และการเงิน
References
Algeo, J. (1990). Semantic Change. In Edgar, C. P. (Ed.). Research Guide on Language Change, Trends in Linguistics. Studies and Monographs [TiLSM] (pp. 399-408). De Gruyter Monton. https://doi.org/10.1515/9783110875379.399
Allan, K. (2011). Using OED Data as Evidence for Researching Semantic Change. In Kathryn, A., & Justyna, R. A. (Eds). Current Methods in Historical Semantics (Topic in English Linguistics 73) (pp. 17-40). De Gruyter Mouton.
Amayreh, K. S. A., & Bin Abdullah, A. T. H. (2022). Conjunction in Expository Essay Writing by Jordanian Undergraduate Students Studying English as a Foreign Language (EFL). International Research Journal on Advanced Science Hub, 4(2), 24-30.
Bell, D. M. (2007). Sentence-initial And and But in Academic Writing. Pragmatics. Quarterly Publication of the International Pragmatics Association (IPrA), 17(2), 183-201.
Borkowska, P., & Kleparski, G. A. (2007). It Befalls Words to Fall Down: Pejoration as a Type of Semantic Change. Studia Anglica Resoviensia, 47, 33-50.
Mahendra, M. W., & Dewi, N. P. R. P. (2017). The Use of Transition Signals in EFL Academic Writing Context: A Corpus Study. Jurnal Bahasa Lingua Scientia, 9(1), 87-100.
Newman, J. (2015). Semantic Shift. In Nick, R. (Ed.). The Routledge Handbook of Semantics (pp. 266-280). Routledge.
Radford, A. (2020). An Introduction to English Sentence Structure. Cambridge University Press.
Song, Y., & Chang, T. K. (2012). Selecting Daily Newspapers for Content Analysis in China: A Comparison of Sampling Methods and Sample Sizes. Journalism Studies, 13(3), 356-369.
Swan, M. (2016). Practical English Usage. Oxford University Press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 สิกขา วารสารศึกษาศาสตร์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.