องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1
คำสำคัญ:
ภาวะผู้นำการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาฯ, องค์ประกอบและตัวบ่งชี้, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) ศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษาฯ 2) ตรวจสอบความเที่ยงตรงตามสภาพขององค์ประกอบและตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษาฯ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาฯ ปีการศึกษา 2566 จำนวน 650 คน โดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดยหาค่าความสอดคล้อง (IOC) มีค่าเท่ากับ 1.0 การทดสอบสมมติฐานใช้ t-test ผลการศึกษา พบว่า องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษาฯ ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ 48 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ 1) องค์ประกอบที่ 1 การเปิดกว้างรับความคิดเห็นใหม่ มี 8 ตัวบ่งชี้ พบว่า ตัวบ่งชี้ที่ 1 มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบมากที่สุด เท่ากับ 0.698 2) องค์ประกอบที่ 2 การสร้างวัฒนธรรมนวัตกรรม มี 8 ตัวบ่งชี้ พบว่า ตัวบ่งชี้ที่ 9 มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบมากที่สุด เท่ากับ 0.654 3) องค์ประกอบที่ 3 การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้และการแบ่งปันความรู้ มี 7 ตัวบ่งชี้ พบว่า ตัวบ่งชี้ที่ 17 และ 18 มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบมากที่สุด เท่ากับ 0.651 4) องค์ประกอบที่ 4 การสร้างสภาวะการเรียนรู้ที่ยั่งยืน มี 8 ตัวบ่งชี้ พบว่า ตัวบ่งชี้ที่ 24 มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบมากที่สุด เท่ากับ 0.646 5) องค์ประกอบที่ 5 การบริหารคุณภาพองค์กรสู่ความสำเร็จ มี 7 ตัวบ่งชี้ พบว่า ตัวบ่งชี้ที่ 32 มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบมากที่สุด เท่ากับ 0.692 6) องค์ประกอบที่ 6 การสื่อสารและนวัตกรรมเทคโนโลยีสู่ความสำเร็จองค์กร มี 6 ตัวบ่งชี้ พบว่า ตัวบ่งชี้ที่ 39 และ 40 มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบมากที่สุด เท่ากับ 0.601 7) องค์ประกอบที่ 7 ความเป็นเลิศในการบริหารจัดการองค์กรสู่ความสำเร็จที่ยั่งยืน มี 4 ตัวบ่งชี้ พบว่า ตัวบ่งชี้ที่ 45 มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบมากที่สุด เท่ากับ 0.686References
กนกอร สมปราชญ์. (2559). ภาวะผู้นำและภาวะผู้นำการเรียนรู้สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: คลังนานาวิทยา.
กัลยา วานิชบัญชา. (2551). การใช้ SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล. กรุงเทพฯ: ซี เค แอนด์ เอสโฟโต สตูดิโอ.
กิตติกาญจน์ ปฏิพันธ์, จักรกฤษณ์ โพดาพล และวิลัยพรณ์ เสรีวัฒน์. (2556). ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ สิ่งที่ควรค่าสำหรับทุกคนในอนาคต. กรุงเทพฯ: คลังนานาวิทยา.
ทองใบ สุดชารี. (2551). ภาวะผู้นำ: กลไกขับเคลื่อนองค์การแห่งการเรียนรู้. อุบลราชธานี: คณะวิทยาการจัดการ, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
ธีระ รุญเจริญ. (2556). วิกฤติและทางออกในการบริหารและจัดการการศึกษา. วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 8(1), 163-164.
ธีระ รุญเจริญ. (2557). ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษาในยุคปฏิรูปการศึกษา เพื่อปฏิรูปรอบ 2 และประเมินภายนอกรอบ 3 (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.
บุญสันต์ ศรีขันธ์. (2556). การพัฒนารูปแบบการสอนบนเว็บโดยใช้หลักการเรียนรู้เป็นทีมของนักเรียนโรงเรียนกีฬา (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.
ประสพชัย พสุนนท์. (2558). ความเที่ยงตรงของแบบสอบถามสำหรับงานวิจัยทางสังคมศาสตร์. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 18(1), 375-396.
ยุทธ ไกยวรรณ์. (2563). การวิเคราะห์สถิติหลายตัวแปรด้วย SPSS (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รัตน์ดา เลิศวิชัย และธีระ รุญเจริญ. (2560). องค์ประกอบภาวะผู้นำการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อสมรรถนะการจัดการเรียนการสอนของครู สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา. วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 17(ฉบับพิเศษ), 669-683.
วิโรจน์ สารรัตนะ. (2556). กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษากรณีทัศนะต่อการศึกษาศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ทิพยวิสุทธิ์.
วีระยุทธ ชาตะกาญจน์. (2551). เทคนิคการบริหารสำหรับนักบริหารการศึกษามืออาชีพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมชาย เทพแสง. (2559). ภาวะผู้นำแห่งการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อการจัดการคุณภาพโดยรวมของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษาเขต 4. วารสารบริหารการศึกษา มศว, 13(25), 116-125.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2557). เอกสารประกอบการศึกษาด้วยตนเอง หลักสูตรผู้ช่วยผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษาตามหลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาข้าราชการครูเพื่อเข้าสู่ตําแหน่งสายงานผู้บริหารในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สุกัญญา แช่มช้อย. (2555). แนวคิดเชิงนวัตกรรมสำหรับการบริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร, 14(2),117-128.
สุรีพันธุ์ เสนานุช. (2553). Visionary Leadership: กรณีศึกษาโรงพยาบาลสงขลานครินทร์. สงขลา: สถาบันรางวัลคุณภาพแห่งชาติ.
สุวิมล ติรกานันท์. (2553). การสร้างเครื่องมือวัดตัวแปรในการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
CCL, NASSP. (2014). 10 Skills for Successful School Leaders. https://www.nassp.org/Content/44755/TenSkills%202nd_ed_exec_summ.pdf
Christiansen, L. L. & Tronsmo, P. (2013). Approaches to Learning Leadership Development in Different School System in Leadership for 21 Century Learning. New York: OCED Publishing.
Greiter, T. W. (2013). Leadership for 21 Century Learning. New York: OCED Publishing.
Guilford, J. P. (1959). Traits of Creativity. In Anderson, H. H. (Ed.), Creativity and its Cultivation (pp. 142-161). New York: Harper & Row.
Guilford, J. P. (1967). The Nature of Human Intelligence. New York: McGraw-Hill.
Guilford, J. P. & Hoeppfiner, P. (1971). The Analysis of Intelligence. New York: McGraw-Hill.
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J. & Anderson, R. E. (2010). Multivariate Data Analysis (7th ed). New York: Pearson.
Haslam, S. A. (2006). The Glass Cliff-the Dynamics of Gender, Risk and Leadership in the Contemporary Organization. UK: (n.p.).
Jolouch, A., Martinez, M. & Badia, J. (2013). Leadership for 21st Century Learning. New York: OECD Publishing.
Podolny, A.(2015). 21st Century Skills: Success in Life:6C’s Plus Leadership. http://wanetusa.org/achieve-your-dream/21st-century-skills/p
Shalom. (2014). Leadership Skills for the 21st Century. http://cfcoaching.org/?p=537
Sharman, C. & Wright, S. (1995). The Power and Use of Teams in School. In Howard, G.G. (Ed.) Teamwork Models and Experience in Education, (pp. 38-40). Boston: Allyn and Bacon.
Tubin, D. (2013). Approaches to Learning Leadership Development in Different School System in Leadership for 21 Century Learning. New York: OCED Publishing.
Woodcock, M. & Francis, D. (1994). The Eleven Building Blocks of Effective Teamwork. Great Britain: The University Press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 สิกขา วารสารศึกษาศาสตร์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.