แนวทางการพัฒนาพฤตินิสัยของเยาวชน

Main Article Content

ลาวัลย์ นาคดิลก

บทคัดย่อ

ในปัจจุบัน การกระทำความผิดทางอาญาของเยาวชนที่มีคดีขึ้นสู่ศาลเยาวชนและครอบครัวมีปริมาณมากซึ่งมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งพบว่าเหตุจูงใจที่เยาวชนกระทำความผิดเกิดจากปัญหาหลายประการ ได้แก่ ครอบครัวขาดความอบอุ่น บิดามารดาไม่มีเวลาเอาใจใส่ดูแลใกล้ชิดไม่มีเวลาอบรมสั่งสอน หรือบางครั้งเกิดจากผู้ปกครองเองที่มีปัญหาไม่ทำตัวเป็นตัวอย่างที่ดีแก่ผู้เยาว์ ปัญหาเยาวชนขาดโอกาสทางการศึกษาที่ดีหรือไม่มีปัจจัยในการที่จะศึกษา ด้วยสภาวะเศรษฐกิจของครอบครัวไม่ดี สภาพแวดล้อมที่เยาวชนพักอาศัยอยู่ใกล้แหล่งสถานเริงรมย์ แหล่งค้ายาเสพติด อยู่ในแหล่งเสื่อมโทรม อยู่ในสภาพแวดล้อมของกลุ่มเพื่อนที่มีปัญหาเดียวกัน มาจากสภาพครอบครัวที่ไม่พร้อม เช่นเดียวกันสภาพร่างกายของเยาวชนที่ไม่มีความพร้อมทางสังคม รู้สึกว่าตนเองมีปมด้อย จึงต้องหาหนทางทำให้ผู้อื่นยอมรับโดยวิธีที่ผิดกฎหมายและผิดศีลธรรม อีกทั้งการสื่อสารที่ไร้พรมแดนเป็นเหตุให้เยาวชนเข้าถึงสื่อได้ทุกประเภทแต่ยังขาดวุฒิภาวะในการบริโภคสื่อ ดังนั้น แนวทางในการพัฒนาพฤตินิสัยของเยาวชน เพื่อให้เกิดพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของสังคม ได้แก่ กระบวนการกล่อมเกลาระดับครัวเรือน กระบวนการกล่อมเกลาระดับชุมชน กระบวนการกล่อมเกลาระดับสถาบันการศึกษา กระบวนการกล่อมเกลาของสถาบันศาสนา กระบวนการกล่อมเกลาโดยรัฐ และ กระบวนการกล่อมเกลาอื่นๆ


 คำสำคัญ : แนวทางการพัฒนา, พฤตินิสัย, เยาวชน

Article Details

บท
Academic Articles (บทความวิชาการ)

References

ชชญานิน กฤติยะโชติ. กลยุทธ์การเสริมสร้างวิถีชีวิตประชาธิปไตยของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดศรีสะเกษ. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ. ศรีสะเกษ : มหาวิทยาลัย-
ราชภัฎศรีสะเกษ, 2558.
เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สมเด็จพระ. ภูมิศาสตร์กับวิถีชีวิตไทย. กรุงเทพฯ : อัมรินทร์บุ๊คเซ็นเตอร์, 2545.
ปฬาณี ฐิติวัฒนา. การพัฒนาเด็ก เยาวชน และสตรี. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2535.
พัฒน บุญยรัตนพันธ์. การสร้างพลังชุมชนโดยกระบวนการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ:ไทยวัฒนาพานิช, 2517.
พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พุทธศักราช 2550 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.ให้ไว้ ณ วันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ.2550 เป็นปีที่ 62.
สำนักงานศาลยุติธรรม. รายงานสถิติคดีศาลยุติธรรมทั่วราชอาณาจักร ประจำปี 2557. ม.ป.ท., 2558.
สำนักพัฒนาพฤตินิสัย กรมราชทัณฑ์. คู่มือการปฏิบัติงานด้านพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ราชทัณฑ์, 2557.
เสกสรรทองคำบรรจง. “การศึกษาโครงสร้างทางจริยธรรมของนักศึกษาระดับปริญญาตรีตามแนวพุทธศาสนา : การสร้างมโนทัศน์พื้นฐานการวัดความเปลี่ยนแปลงและรูปแบบเชิงสาเหตุของ
การเปลี่ยนแปลง” วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย, 2545.
Alberti and Emmons. Your Perfect Right: Assertiveness and Equality in Your Life and Relationships (9th Edition). N.p., 2008.
Maslow, Abraham. Motivation and Personnality. New York : Harper and Row Publishers, 1970.
Kenaphoom Sanya. (2013). “The creating of the Survey Research Conceptual Framework on Public Administration” ValayaAlongkorn Review Vol.3 No.2 (July-December) : 169-185.
Kenaphoom Sanya. (2014A). “Research Philosophy: Quantity Quality” Journal of Political Science and Law, Rajabhat Kalasin University, 3 (2), 49-51.
Kenaphoom Sanya. (2014B). “Establish the Research Conceptual Framework in Public Administration by the Rational Conceptual thinking”. Phetchabun Rajabhat Journal, 16(1): January-June 2014: 1-19.
Kenaphoom Sanya. (2014C). “A Creation of a Research Conceptual Framework for Public Administration by Knowledge Management Methodology” Journal of Humanities and
Social Sciences, Ubonratchathani University, 5 (2), 13-32.
Kenaphoom Sanya. (2014D). “The creating of Quantitative Research Conceptual Framework of Public Administration by Literature Review. Udonthani Rajabhat University Journal of
Humanities and Social Science, 3 (1), January-June 2014.
Kenaphoom Sanya. (2015). “The research Conceptual framework Establishment by the Grounded - Theory”. VRU Research and Development Journal. 10(3), (September-
December, 2015)
Sasse, C. R. Person to Person. Peoria: Benefit, 1987.