มุมมองสตรีนิยมกับสุนทรียศาสตร์ทางดนตรี
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นบทความวิชาการที่นำเสนอมุมมองทางสตรีนิยมกับสุนทรียศาสตร์ทางดนตรี ในบริบทของดนตรีตะวันตก ผ่านมุมมองการรื้อถอนรหัสและความหมายที่ซ่อนอยู่ของดนตรีบริสุทธิ์ (Absolute Music) ของ ซูซาน แมคคลารีย์ (Susan McClary) นักดนตรีวิทยา และแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับแนวทางการสร้างสรรค์ตัวบททางดนตรีในแบบผู้หญิง ตามแนวคิดของ หลุย เออริกาเรย์ (Luce Irigaray) นักปรัชญาสตรีนิยม เพื่อเผยให้เห็นระบบปิตาธิปไตยที่แฝงเร้นอยู่ในทิศทางของโครงสร้างบทประพันธ์เพลงในแบบดนตรีบริสุทธิ์ ผ่านการวิเคราะห์บทประพันธ์เพลงเปียโนโซนาต้าหมายเลขหนึ่ง (Piano Sonata No.1) โดย คลาร่า วีค ชูมันน์ (Clara Wieck Schumann) ในรูปแบบดนตรีบริสุทธิ์ที่ได้รับอิทธิพลมาจากแนวคิดทางด้านสุนทรียศาสตร์ตั้งแต่ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 โดยมีนัยสำคัญที่เกี่ยวข้องกับภาพตัวแทนของเพศสถานะ (Gender) และเพศวิถี (Sexuality) ที่แฝงฝังอยู่ในเนื้อหาทางดนตรีซึ่งมีความแตกต่างไปจากดนตรีในบริบทของยุคก่อนหน้านั้น
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกบทความเพื่อการศึกษา แต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาให้ครบถ้วนสมบูรณ์
References
Goehr, Lydia. (1992). The Imaginary Museum of Musical Works: An Essay in the Philosophy of Music. Oxford: Clarendon Press.
Hamilton, Andy. 2008. Aesthetics and Music. London: Continuum International Publishing Group.
McClary, Susan. (2002). Feminine Endings Music Gender and Sexuality. Minneapolis, MN: University of Minnesota Press.
Online Etymology Dictionary. Aesthetics. [0nline]. Retrieved April 10, 1021 from https://www.etymonline.com/search?q=Aesthetic.
Pendle, Karin. (2001). Women and Music: A History. Bloomington: Indiana University Press.
Reich, Nancy B. (2001). Clara Schumann The Artist and The Woman. New York: Cornell University.
Reitsma, Kimberly. (2014). “A New Approach: The Feminist Musicology Studies of Susan McClary and Marcia J. Citron,” Musical offering; 5(1), Article 3.
Thia, S.S. (2011, July 4-8). The Piano Sonatas of Fanny Hensel and Clara Schumann. Proceedings of the 10th Australasian Piano Pedagogy Conference, Charles Sturt University, Australia.
Tong, Rosemarie. (2009). Feminist Thought a more comprehensive introduction. Philadelphia, PA: Westview Press.