การบริหารสถานศึกษาสู่การเป็นองค์การนวัตกรรมในการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมคุณลักษณะผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรมของผู้เรียน ยุคการศึกษาประเทศไทย 4.0
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาประเทศไทย 4.0 มีแนวทางการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับนโยบายประเทศที่นำนวัตกรรมมาใช้ขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพเพื่อการขับเคลื่อนประเทศสู่สากล และสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงยุค 4.0 มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 จึงได้กำหนดผลลัพธ์ที่พึงประสงค์การศึกษา ให้สถานศึกษาทุกระดับและทุกประเภทใช้เป็นแนวทางจัดการศึกษาให้กับผู้เรียน โดยมีคุณลักษณะผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรมของผู้เรียน เป็นองค์ประกอบหนึ่งของผลลัพธ์ที่พึงประสงค์การศึกษา ที่จะนำพาให้ผู้เรียนไปสู่การเป็นวัตกรในการสร้างนวัตกรรมจากการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา การบริหารสถานศึกษาให้เป็นองค์การนวัตกรรมจะเป็นรูปแบบบริหารแบบใหม่โดยมีผู้บริหารมีภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมที่จะทำให้การจัดการศึกษาเพื่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรมให้ประสบผลสำเร็จด้วยการนำผลลัพธ์ที่พึงประสงค์การศึกษาไปใช้ในสถานศึกษาให้เหมาะสมตามช่วงวัย และระดับการศึกษาของผู้เรียน ด้วยการเชื่อมโยงให้เกิดความต่อเนื่องในการปฏิบัติ พร้อมกับพัฒนาหลักสูตรที่เน้นผลลัพธ์เป็นนวัตกรรมที่ผู้เรียนสร้างขึ้นตามศักยภาพของตนเอง และทิศทางการพัฒนาประเทศมาใช้เป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้ เน้นการจัดการเรียนรู้ด้วยทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง จัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน มีเทคโนโลยีดิจิทัลเป็นสิ่งสนับสนุน พร้อมจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรม รวมทั้งประเมินผลการจัดการเรียนรู้ตามสภาพเป็นจริงด้วยวิธีหลากหลาย และครูมีบทบาทเป็นผู้อำนวยความสะดวก และแนะแนวทางในการจัดการเรียนรู้
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกบทความเพื่อการศึกษา แต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาให้ครบถ้วนสมบูรณ์
References
ฐิตินันท์ นันทะศรี, วาโร เพ็งสวัสดิ์, วัลนิกา ฉลากบาง, และ พรเทพ เสถียรนพเก้า. (2563). ภาวะผู้นำเชิง นวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา. วารสารบัณฑิตศึกษา, 17(79), 11-20.
ดิเรก พรสีมา. (2559, 4 พฤศจิกายน). ครูไทย 4.0 (จบ). มติชนออนไลน์. https://www.matichon.co.th/columnists/news_345042
วิชัย วงษ์ใหญ่ และ มารุต พัฒผล. (2562). การพัฒนาทักษะสร้างสรรค์นวัตกรรม. ศูนย์ผู้นำนวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้.
สมศรี เณรจาที และ วัชรี ชูชาติ. (2560). รูปแบบการบริหารสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในศตวรรษที่ 21. วารสารบริหารการศึกษา มศว, 14(27), 10-20.
สำนักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. (2560). การผลักดันนโยบายประเทศไทย 4.0 วารสารไทยคู่ฟ้า, 33 (มกราคม-มีนาคม), 1-43.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2562). มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561. บริษัท 21 เซ็นจูรี่ จำกัด.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.(2562). สภาวะการศึกษาไทย 2561/2562 การปฏิรูปการศึกษาในยุคดิจิทัล. บริษัท ภาพพิมพ์ จำกัด.
สุกัญญา แช่มช้อย. (2563). นวัตกรรมการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาเพื่อสร้างนวัตกรรม. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 22(2), 193–213.
สุวิทย์ เมษินทรีย์. (2559, 2 พฤษภาคม). แนวคิดเกี่ยวกับประเทศไทย 4.0. ทีมเศรษฐกิจไทยรัฐ.
https://planning2.mju.ac.th/goverment/20111119104835_planning/Doc_255908 23143652_358135.pdf
องค์อร ประจันเขตต์. (2557). องค์กรแห่งนวัตกรรมการศึกษา ทางเลือกใหม่ของบริหารการศึกษา. วารสารพยาบาลทหารบก, 15(1), 45–51.
อนุพงษ์ ชุมแวงวาปี, สุเมธ งามกนก, และ สมพงษ์ ปั้นหุ่น. (2561). การพัฒนารูปแบบองค์การแห่งนวัตกรรมของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 12(3), 207–219.
อัจฉรา นิยมาภา. (2564). รูปแบบการบริหารสถานศึกษาวิถีใหม่ส่คุณภาพการศึกษาที่พึงประสงค์ในบริบทที่เปลี่ยนแปลง. วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ, 14(2), 178-195.
Ayiro, L. & Sang, J. (2010). Education Leadership in Globalized Economy: A Kenyan Perspective. Journal of Science and Technology Education Research, 1(4), 62-72.
Baydar, F., & Çetin, M. (2021). The Model of Relationships between Intellectual Capital, Learning Organizations, and Innovation-Oriented Organizational Structures in Educational Organizations. Eurasian Journal of Educational Research, 94(21), 265-294.
Bellanca, J., & Brandt, R. (2010). 21st Century Skills: Rethinking How Students Learn. Solution Tree.
Dyer, J. H., Gregersen, H. L., & Christensen, C. M. (2011). The Innovator’s DNA: Mastering the Five Skills of Disruptive Innovators. Harvard Business School Publishing.
Furr, N. R., & Dyer, H. J. (2014). The Innovator’s Method: Bringing the Lean Start-up into Your Organization. Harvard Business Review Press.
Higgins, J. M. (1995). Innovate or Evaporate: Test and Improve Your Organization’s IQ: Its Innovation Quotient. New Management Pub Co.
Hussin, A. A. (2018). Education 4.0 Made Simple: Ideas for Teaching. International Journal of Education & Literacy Studies, 6(3), 92-98. http://dx.doi.org/10.7575/aiac.ijels.v.6n.3p.92
Koroleva, D. O., & Khavenson, T. E. (2015). The Portrait of a Twenty-First Century Innovator in Education. Russian Education & Society, 57(5), 338-357. http://doi: 10.1080/10609393.2015.1082410
McVeigh-Murphy, A. (2020, 19 February). The Future of work is Changing Education 4.0 Solves for This. Equip.learning.com. https://equip.learning.com/education-4-0
Nielsen, J. A. (2015). Assessment of Innovation Competency: A Thematic Analysis of Upper Secondary School Teachers’ Talk. Journal of Educational Research, 108(4), 318-330. http://doi: 10.1080/00220671.2014.886178
Rogers, E. M. (1983). Diffusion of Innovations (3rd ed). Macmillan Publishing.
Sepuru, M. G., & Mohlakwana, M. A. (2020). The Perspectives of Beginner Principals on their New Roles in School Leadership and Management: A South African Case Study. South African Journal of Education, 40(2), 1-11.
Sherwood, D. (2001). Smart Things to Know about Innovation and Creativity. John Wiley and Sons Ltd.
Šunje, A., & Pašić, M. (2004). Modeling an Organizational Sustainable Competitive Advantage. International Conference Proceedings: Faculty of Economics and Business, University of Zagreb, 1535-1540.
Taylor, P. C. (2004). How can Participatory Processes of Curriculum Development Impact on the Quality of Teaching and Learning in Developing Countries? Paper Commissioned for the EFA Global Monitoring Report 2005, The Quality Imperative. https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000146686
Tepic, M., Kemp, R., Omta, O., & Fortuin, F. (2013). Complexities in Innovation Management in Companies from the European Industry: A Path Model of Innovation Project Performance Determinants. European Journal of Innovation Management, 16(4), 517-550. https://doi.org/10.1108/EJIM-05-2012-0053
Tidd, J. (2001). Innovation Management in Context: Environment, Organization, and Performance. International Journal of Management Reviews, 3(3), 169-183. https://doi.org/10.1111/1468-2370.00062
Wiggins, G. P, & Mctighe, J. (2007). Schooling by Design: Mission, Action, and Achievement. ASCD.
Zhou, J., & George, J. M. (2001). When Job Dissatisfaction Leads to Creativity: Encouraging the Expression of Voice. Academy of Management Journal, 44(4), 682-692.https://doi.org/10.5465/3069410