การพัฒนาแนวทางการเสริมสร้างพลังอำนาจครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1

Main Article Content

วรวลัญช์ สิงหะ
ธัญเทพ สิทธิเสือ
ทรงเดช สอนใจ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับสภาพปัจจุบันการเสริมสร้างพลังอำนาจครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1 2) เพื่อพัฒนาแนวทางการเสริมสร้างพลังอำนาจครู และ 3) เพื่อประเมินแนวทางการเสริมสร้างพลังอำนาจครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู จำนวน 331 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบประเมินระดับสภาพปัจจุบัน ที่มีระดับความเชื่อมั่น 0.96 ซึ่งจะได้ทราบระดับการปฏิบัติงานในปัจจุบันนำไปสู่การวิเคราะห์และพัฒนา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่  ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


              ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับสภาพปัจจุบันของเสริมสร้างพลังอำนาจครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1 พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) แนวทางการเสริมสร้างพลังอำนาจครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1 มี 6 องค์ประกอบ 26 แนวทาง โดยแยกเป็นแต่ละด้านดังนี้ ด้านการสร้างบรรยากาศการทำงานในโรงเรียน มีจำนวน 5 แนวทาง ด้านการทำงานเป็นทีม มีจำนวน 4 แนวทาง ด้านความก้าวหน้าในวิชาชีพ มีจำนวน 6 แนวทาง ด้านการมอบอำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบ มีจำนวน 4 แนวทาง ด้านการอบรมพัฒนาศักยภาพ บุคลิกภาพ มีจำนวน 4 แนวทาง และ ด้านการยอมรับและยกย่อง มีจำนวน 3 แนวทาง 3) ผลการประเมินแนวทางการเสริมสร้างพลังอำนาจครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา      ศรีสะเกษ เขต 1 จากผู้เชี่ยวชาญพบว่า โดยมีความเหมาะสม ความเป็นไปได้ อยู่ในระดับมากที่สุด

Article Details

บท
Research Articles (บทความวิจัย)

References

จารุวรรณ นรพรม. (2557, ตุลาคม - 2558, มีนาคม). การศึกษาสภาพ ปัญหา และแนวทางแก้ปัญหาการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1. วารสารชุมชนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 9(1), 21-25.

นิลุบล ชูสอน. (2561). การเสริมสร้างพลังอำนาจการทำงานของข้าราชการครู สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์].มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ.

บุญชม ศรีสะอาด. (2556). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย เล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงทพฯ:

สุวีริยาสาส์น.

บงกช ยิ้มหนองโพธิ์. (2558). พลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อขวัญกำลังใจของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

ประวิต เอราวรรณ์. (2548). การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างพลังอำนาจครูในโรงเรียน:

กรณีศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ปรัชญา แก้วโพธิ์. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจกับการทำงานเป็นทีม

ของครูในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3 [วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

พัชรี บุญนาคแย้ม. (2551). แนวทางการเสริมสร้างพลังอำนาจการทำงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตาก เขต 2 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์].มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.

ภิญญาพัชญ์ เทียมเมืองแพน. (2560). แนวทางการเสริมสร้างพลังอำนาจครูในการจัดการเรียนรู้ สำหรับโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ลำไพพัชร สีจันทร์ฮด. (2560). การเสริมสร้างพลังอำนาจครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์].มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ศศิประภา สาชำนาญ. (2559). การใช้พลังอำนาจในการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

สถาพร ภูบาลเช้า. (2559). การพัฒนาแนวทางการเสริมสร้างพลังอำนาจครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สอาดลักษม์ จงคล้ายกลาง. (2556). การพัฒนารูปแบบการบริหารเพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุขวัชร เทพปิน. (2563). รูปแบบการเสริมสร้างพลังอำนาจครูโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดขอนแก่น. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ.

(5). 217-229.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี พ.ศ. 2561-2580 (พิมพ์ครั้งที่ 2). สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1. (2564). แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565-2569. http://news.sisaketedu1.go.th/news/wp-content/uploads/2022/07/planssk5-y.pdf

สมคิด สกุลสถาปัตย์. (2562). กลยุทธ์การสร้างวัฒนธรรมคุณภาพในการบริหาร จัดการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารสถาบันวิจัยญาณสังวร, 10(2), 178-196.

สุเมธ บุสโร. (2563). การเสริมพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพของครู ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

เอกพล พันธุ์โชติ. (2560). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมิติการเสริมสร้างพลังอำนาจครูกับความผูกพันต่อองค์กรของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

Conger,J. A., & Kanungo, R.N. (1988). The Empowerment Process: Integrating

Theory and Practice. The Academy of Management Review. 13(3), 471-482

Gibson, J.L. (2000). Organizations, behaviour, structure and processes. Tenth edition. New York: Irwin McGraw-Hill.

Klecker, B.M & Loadman, W. E. (1998). Another look at the dimensionality of the school

participant empowerment scale. Educational and Psychology Measurement. 58(6), 944-954.

Krejcie, R.V. & Morgan, D.W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.

Lauren Bennett Cattaneo and Aliya R. Chapman. (2010). The Process of

Empowerment A Model for Use in Research and Practice. American Psychologist 65(7). 646-59.

Scott, C. D. & Jaffe, D. T. (1991). Empowerment: Building A Committed Workforce. California: Kogan Page.

Short, P. M. & Rinehart, J. S. (1992). School Participant Empowerment Scale: Assessment of Level of Empowerment within the School Environment. Educational and Psychological Measurement, 52(6), 951–960.

Spreitzer, G.M. (1995). Psychological Empowerment in the Workplace: Dimensions,

Measurement and Validation. Academy of Management Journal, 38(5), 1442-1465.

Tracy, D. (1990). 10 Steps to Empowerment.: A Common-Sense Guide to Managing

People. New York : William Marrow and Company.