รูปแบบการเรียนการสอนภาษาไทยตามแนวคิดการเรียนรู้ โดยใช้สมองเป็นฐานร่วมกับแนวคิดสมดุลภาษา

Main Article Content

อนุตรศักดิ์ วิชัยรัตน์
สำราญ กำจัดภัย
จินดา ลาโพธิ์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบ การเรียนการสอนภาษาไทยตามแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานร่วมกับแนวคิดสมดุลภาษา   2) สร้างรูปแบบการเรียนการสอนภาษาไทยตามแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานร่วมกับ   แนวคิดสมดุลภาษา และ 3) ประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนการสอนภาษาไทยตามแนวคิด  การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานร่วมกับแนวคิดสมดุลภาษา กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน ซึ่งได้มาจากวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบประเมิน  ความเหมาะสม สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


              ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาข้อมูลพื้นฐานและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ 1.1) สภาพปัจจุบันเกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาไทย 1.2) แนวคิดเกี่ยวกับทักษะการสื่อสาร 1.3) แนวคิดเกี่ยวกับ                การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน 1.4) แนวคิดเกี่ยวกับสมดุลภาษา และ 1.5) แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบ    การเรียนการสอน 2) ผลการสร้างรูปแบบการเรียนการสอนภาษาไทยตามแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานร่วมกับแนวคิดสมดุลภาษา มี 6 องค์ประกอบ ได้แก่ 2.1) ที่มาและความสำคัญ 2.2) แนวคิดและทฤษฎีพื้นฐาน 2.3) หลักการ 2.4) วัตถุประสงค์ 2.5) กระบวนการเรียนการสอน และ 2.6) การวัดและประเมินผล และ 3) ผลการประเมินรูปแบบการเรียนการสอนภาษาไทยตามแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานร่วมกับแนวคิดสมดุลภาษา มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด           

Article Details

บท
Research Articles (บทความวิจัย)

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2563). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และ

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560). โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์

การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กฤตยากาญจน์ อินทร์พิทักษ์. (2562). การพัฒนาความสามารถการอ่านและการเขียนคำภาษาไทย

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน

[วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ณัชสุดา คำมุกชิก. (2558). การพัฒนายุทธศาสตร์การจัดการเรียนรู้ภาษาไทยสำหรับนักเรียนคละชั้น

ระดับประถมศึกษาโดยประยุกต์ใช้แนวคิดสมดุลภาษาและทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคม

เพื่อเสริมสร้างความสามารถด้านการอ่าน [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์].

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

ทรายแพรว ไชยมัชชิม. (2563). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวคิดการใช้สมอง

เป็นฐานร่วมกับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) เรื่อง นำเพื่อชีวิตและอากาศรอบตัวเรา

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 [วิทยานิพนธ์

ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

ทิศนา แขมมณี. (2563). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ

(พิมพ์ครั้งที่ 24). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธนภร วัฒนนวลสกุล. (2565). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ตามแนวคิดห้องเรียน

กลับด้านร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการคิดวิเคราะห์

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการกำกับตนเอง สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ

ชั้นสูง [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

ปัณณิศา ไชยลือชา. (2559). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนภาษาอังกฤษโดยใช้แนวคิดสมดุลภาษา

สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์].

มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

พรพิไล เลิศวิชา. (2558). การพลิกโฉมโรงเรียน ป.1 อ่านออกเขียนได้ใน 1 ปี. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์

การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

ภูมิพงศ์ จอมหงษ์พิพัฒน์. (2563). รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน

ร่วมกับแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐาน และกลวิธีอภิปัญญาเพื่อเสริมสร้างทักษะใน

การคิดขั้นสูง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในอภิปัญญาของนักศึกษาครูระดับ

ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏ. วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏ

สกลนคร, 12(35), 201-208.

มุกทราย บวรนิธิกุล. (2558). การพัฒนาลักษณะเฉพาะของแบบวัดทักษะการสื่อสารแห่งศตวรรษที่ 21

ของนิสิตนักศึกษาปริญญาบัณฑิต [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์].

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21 (พิมพ์ครั้งที่ 1). โรงพิมพ์ บริษัท

ตถาตา พับลิเคชั่น จำกัด.

วิชา เลี่ยมสกุล. (2561). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมร่วมกับเทคนิคการคิดนอกกรอบ

เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏ

[วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

วิทยากร เชียงกูล. (2559). สภาวะการศึกษาไทย ปี 2557/2558 จะปฏิรูปการศึกษาไทยให้ทันโลก

ในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างไร. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2559). ผลการประเมินการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2558. สำนักงานทดสอบทางการศึกษา สำนักงาน

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

. (2565). ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2564. สำนักงาน

ทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2559). แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการฉบับที่ 12

(พ.ศ. 2560-2564). สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. สำนักงาน

เลขาธิการสภาการศึกษา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2562). กรอบสมรรถนะหลักผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและ

ระดับประถมศึกษา ตอนต้น (ป.1-3). สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สำนักนายกรัฐมนตรี. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564.

สำนักนายกรัฐมนตรี.

สิโรดมภ์ จุ้ยเปี่ยม. (2563). ผลการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยโดยใช้กลยุทธ์การเขียนเชิงโต้ตอบ

และแนวสมดุลภาษาที่มีต่อความสามารถในการเขียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

[วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุภาวดี วิสุวรรณ. (2562). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมสมรรถนะนักศึกษาครู

การศึกษาพิเศษ [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏ

นครราชสีมา.

อรรถพงษ์ ผิวเหลือง บัญชา เกียรติจรุงพันธุ์ และ ณัฐกิตติ์ สิริวัฒนาทากุล. (2563). สภาพการจัดการ

เรียนรู้ของครูภาษาไทย: แนวทางในการแก้ปัญหา. วารสารศึกษาศาสตร์์ มมร, 8(2),

-211.

อวยพร พันธ์อุดม. (2559). การศึกษาความสามารถทางภาษาไทยและความมุ่งมั่นในการทำงานของ

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยการจัดการเรียนรู้

แบบสมดุลภาษา [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏ

พระนครศรีอยุธยา.

อัจฉรา ใจสุต๊ะ. (2562). การพัฒนาหลักสูตรส่งเสริมความสามารถการอ่านภาษาไทยตามหลักการเรียนรู้

โดยใช้สมองเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต

ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.

อามีเนาะ ตารีตา. (2560). ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานร่วมกับกลวิธี POE ที่มีต่อ

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และความพึงพอใจ

ต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต

ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

อุเทน วางหา. (2560). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนสังคมศึกษาโดยประยุกต์แนวคิดชุมชน

เป็นฐานการเรียนรู้และทฤษฎีการสร้างความรู้ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์

และความสามารถในการสื่อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดองค์กร

ปกครองส่วนท้องถิ่น [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยบูรพา.

Anderson, K. B. (1997). Problem-solving in mathematics; It’s theory and practice.

The nation Council of Teachers of Mathematics.

Caine & Caine. (2004). Making connections: Teaching and the human brain. Innovative

Learning Publications.

Finocchiaro, M. & Sako, S. (1983). Foreign Language Testing: A Practical Approach.

Regents.

Fitzgerald, J. (1999). What is this thing called “balance?”. The Reading Teacher.

(2), 100-107.

Greenstein, L. (2012). Assessing 21st century skills: A guide to evaluating mastery and

authentic learning. Corwin Press.

Joyce, B. & well, M. (2004). Model of Teaching (5th ed). Englewood Cliffs. Prentice-Hall.

Reif, S. & Heimburge, J. (2007). How to reach and teach all children through balance

Literacy. San Francisco: Jossey-Bass.