ความคาดหวังและการรับรู้ต่อคุณภาพการบริการของสนามบิน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Main Article Content

สุดา สุวรรณาภิรมย์

บทคัดย่อ

        งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความคาดหวังในคุณภาพการบริการของผู้ใช้บริการสนามบินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อการรับรู้ในคุณภาพการบริการของผู้ใช้บริการสนามบินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อแนวโน้มการใช้บริการสนามบินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือซ้ำ และ 4) ศึกษาความแตกต่างของความคาดหวังและการรับรู้ในคุณภาพการบริการของผู้ใช้บริการสนามบินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การทดสอบสมมติฐานใช้สถิติการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าที ที่เป็นอิสระต่อกัน การเปรียบเทียบความแตกต่างค่าที ที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว เมื่อพบความแตกต่างจะใช้การเปรียบเทียบเป็นรายคู่ด้วยการด้วยวิธีของเซฟเฟ่ จากการทดสอบสมมติฐานพบว่า 1) ด้านความคาดหวังในคุณภาพการให้บริการของผู้ใช้บริการสนามบินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบว่า ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ของผู้ใช้บริการที่แตกต่างกันมีผลต่อความคาดหวังในคุณภาพการให้บริการของผู้ใช้บริการสนามบินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่แตกต่าง  2) ด้านการรับรู้ในคุณภาพการให้บริการของผู้ใช้บริการสนามบินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบว่าสถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา และรายได้ของผู้ใช้บริการที่แตกต่างกันมีผลต่อการรับรู้ในคุณภาพการให้บริการของผู้ใช้บริการสนามบินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่แตกต่าง 3) ด้านการใช้บริการซ้ำของผู้ใช้สนามบินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบว่าสภาพการสมรส อาชีพ และรายได้ของผู้ใช้บริการที่แตกต่างกันมีผลต่อการใช้บริการของผู้ใช้บริการสนามบินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือซ้ำที่แตกต่าง และ 4) ความคาดหวังในคุณภาพการของผู้ใช้บริการสนามบินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่แตกต่างกันมีผลต่อการรับรู้ในคุณภาพคุณภาพการของผู้ใช้บริการสนามบินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กมลวัฒน์ ยะสาวรรณ. (2547). การรับรู้กฎระเบียบของพนักงานท่าเรือแหลมฉบัง. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต นโยบายสาธารณะ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.
กรมตรวจสอบบัญชีสหกรณ์. (2555). สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม 12, 2560, จาก www.cad.go.th.
กรมท่าอากาศยาน. (2559). สืบค้นเมื่อ พฤศจิกายน 20, 2560, จาก https://www.airports.
go.th/th/content/349/1394.html.
กฤติยา เวสวรรณ และคณะ. (ม.ป.ป.). การรับรู้ในปัจจัยคุณภาพการบริการประปาในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล. วารสารวิจัย มทร. สืบค้นเมื่อ กรกฎาคม 3, 2560, จาก journal.rmutk.ac.th/index.php/rmutk/ article/download/28/127.
กัลยา สร้อยสิงห์. (2559). ความคาดหวังและการับรู้ต่อความพึงพอใจในคุณภาพการบริการของผู้ใช้บริการโรงแรมในเขตเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 10(1), 216-238.
เจตฑถ์ ดวงสงค์ถ์. (ม.ป.ป.). ทฤษฎีความคาดหวัง. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
ใจเพชร อรกาล. (2548). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในจังหวัดอำนาจเจริญ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
ณรงค์ ทรวงโพธิ์. (2552). ความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อการบริการจ่ายสิ่งของขนาดใหญ่ของไปรษณีย์นครราชสีมา. การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน.
ทันดร ธนะกูลบริภัณฑ์. (2552). คู่มือจัดองค์ความรู้ มาตรฐานการให้บริการ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ธนทัศน์ ธนีสันต์ และอภิเทพ แซ่โค้ว. (2559). ความคาดหวังและการรับรู้ของผู้บริโภคที่มีต่อการให้บริการของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย. สุทธิปริทัศน์, 30(94), 154-167.
บัณฑิต เผ่าวัฒนา. (2548). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการปัญหาน้ำเสียในคลองแม่ข่า ตำบลช้างคลาน เทศบาลนครเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ. (2542). ระบบการศึกษา. สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม 10, 2460, จาก http://www.moe.go.th.
พัชราวัล พันธศิลาโรจน์. (2551). ปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า.
มยุรี บุญยัง. (2554). ความคาดหวัง การรับรู้จริงของพนักงานต่อคุณภาพการให้บริการ การจ้างงานบุคคลภายนอก ของ ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน) สำนักงานในกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ยุพา ตั้งตน. (2538). ประสิทธิผลของระบบและกระบวนการให้บริการของกรุงเทพมหานคร: ศึกษากรณีสำนักงานเขตมีนบุรี. ภาคนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ราชบัณฑิตยสภา. (2552). สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม 12, 2560, จาก http://www.royin.go.th.
_______. (2545). สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม 10, 2560, จาก http://www.royin.go.th/?.
วันชัย มีชาติ. (2548). พฤติกรรมการบริหารองคกรสาธารณะ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิมลรัตน์ หงส์ทอง. (2555). ความคาดหวังและการรับรู้คุณภาพการให้บริการลูกค้าธนาคารออมสิน สาขาวัชรพล. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2538). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์. (2547). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ท้อป.
สามารถ ยิ่งคำแหง. (2553). แนวทางการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของชาวบ้านหินหล่องในเขตพื้นที่
องค์กรบริหารส่วนตำบลตะเคียน อ. ด่านขุนทด จ. นครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง. (2546). สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม 12, 2560, จาก http://www.fpo.go.th.
สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย. (2557). สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม 10, 2560, จาก https://www.caat.or.th/th/archives/3491.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2560). นิยามโครงสร้างสำมะโน/สำรวจ. สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม 10, 2560, จาก http://service.nso.go.th.
สิทธิโชค วรานุสันติกุล. (2524). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: รวมสาส์น.
สุนันท์ นิลพวง. (ม.ป.ป). ความคาดหวังและการรับรู้คุณภาพของผู้โดยสารที่มีต่อการให้บริการรถโดยสารสถานีขนส่งสายใต้. วารสารวิทยาการจัดการ Journal of Management Science, 96-109.
อาคม ไตรพยัคฆ์. (2547). ความผูกพันต่อองค์การของ ข้าราชการตำรวจกองตำรวจสื่อสารสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อินทิรา จันทรัฐ. (2552). ความคาดหวังและการรับรู้จริงต่อคุณภาพการบริการสายการบิน ต้นทุนต่ำเที่ยวบินภายในประเทศ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อุไร ดวงระหว้า. (2554). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อคุณภาพการให้บริการศูนย์บริการ One Stop Service: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
อุทุมพร แม้นศิริกุล. (2550). ปัจจัยการปฏิบัติงานของพนักงานและระดับคุณภาพการให้บริการของศูนย์บริการโตโยต้าในจังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
เอกรัตน์ สุวรรณกูล. (2557). ความคาดหวังต่อการเดินทางด้วยรถไฟความเร็วสูงของผู้โดยสารชาวไทย เทียบกับ การเดินทางด้วยสายการบินต้นทุนต่ำและแนวโน้มพฤติกรรมในเส้นทางกรุงเทพฯ – เชียงใหม่. วารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ, 10(2), 87-100.
Holland, D. V. (2011). Utility maximization? An expectancy view of entrepreneurial persistence, Management Research Review, 34(3), 337-352.
Hrebiniak, L. & Alutto, A. (1972). Personal and Role-Related Factor in the Development of Organizational Commitment. Administrative Science Quarterly, 17(December), 555-572.
Katz, Danet, & Branda. (1973). Bureaucracy and the Public. New York: Basic Book Inc.
Kotler, P. & Armstrong, G. (1996). Principles of marketing (8 th ed.). Singapore: Prentice-Hall.
Schermerhorn, Hunt & Osborn. (2003). Organizational Behavior (8 9th ed.). New York Wiley.
Vroom, V. H. (1964). Work and motivation. New York: John Wiledky & Sons.
Yamane, T. (1967). Statistics: An introductory analysis (2 nd ed.). New York: Harper and Row.