ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีผลต่อความตั้งใจใช้บริการผ่านแอปพลิเคชันแกร็บฟู้ด ของนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ผลกระทบของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีผลต่อความตั้งใจใช้บริการผ่านแอปพลิเคชันแกร็บฟู้ด ของนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บรวบรวมข้อมูลจากนิสิตที่กำลังศึกษาในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม คัดเลือกหากลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของ Krejcie and Morgan สุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิที่ความเชื่อมั่นที่ 95% ค่าความคาดเคลื่อนที่ .05 ได้ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง n = 381 เพื่อความเหมาะสมจึงเก็บข้อมูล จำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถาม นำมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและทดสอบสมมติฐานและการวิเคราะห์ถดถอยแบบพหุคูณ
ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกต่อความตั้งใจใช้บริการผ่านแอปพลิเคชันแกร็บฟู้ด ของนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพียง 6 ด้าน ได้แก่ H1 ด้านผลิตภัณฑ์ (β1= 0.181) H3 ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย (β3= 0.123) H4 ด้านการส่งเสริมการตลาด (β4= 0.293) H5 ด้านบุคลากร (β5= 0.241) H6 ด้านกระบวนการ (β6= 0.133) และ H7 ด้านกายภาพ (β7= 0.156) สามารถร่วมกันพยากรณ์ความตั้งใจใช้บริการ ได้ร้อยละ 73.50 ส่งผลกระทบเชิงบวกต่อความตั้งใจใช้บริการผ่านแอปพลิเคชันแกร็บฟู้ด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กรรณิการ์ ชัยอำนาจ และกฤษฎา มูฮัมหมัด. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าออนไลน์ ผ่านทางแอพพลิเคชัน SHOPEE ของคนวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร. ใน การประชุมนำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 15 ประจำปีการศึกษา 2563. (น. 955 - 969). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยรังสิต.
กริณฑวัฏ รักงาม. (2560). องค์ประกอบที่ส่งผลตอการเลือกใช้บริการ E-marketplace ของผู้บริโภคกรณีศึกษา SHOPEE ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
กรุงเทพธุรกิจออนไลน์. (2563). ผลกระทบและการปรับตัวของธุรกิจโรงแรม/ร้านอาหาร จากสถานการณ์โควิด-19. สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/blogs/columnist/967949
กวินตรา มาพันศรี. (2562). ปัจจัยการรับรู้ความน่าเชื่อถือของแหล่งสารการรับรู้ส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านเฟซบุ๊ก. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
กองทะเบียนและประมวลผล มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. (2564). จำนวนนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สืบค้นจาก http://regpr.msu.ac.th/th/
กัลยา วานิชย์บัญชา, และฐิตา วานิชย์บัญชา. (2561). การใช้ SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล (พิมพ์ครั้งที่ 31). กรุงเทพฯ: สามลดา.
จินณวัฒน์ อัศวเรืองชัย, ศักดา นาควัชระ, ทวินานันญ์ พุ่มพิพัฒน์, กันตินันท์ กิจจาการ, และเปียทิพย์ กิติราช. (2565). ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครในช่วงการระบาดของไวรัสโควิด-19. วารสารรัชตภาคย์, 16(46), 389-404.
ชเนศ ลักษณ์พันธุ์ภักดี. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บริการสั่งอาหารแบบเดลิเวอรี่ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ชมพูนุช น้อยหลี. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าจากร้านค้าออนไลน์. การค้นคว้าอิสระเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
โชติมา ชูกุล. (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกใช้บริการแอปพลิเคชันเรียนรถยนต์โดยสารของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ณิชารีย์ ทวีพัฒนะพงศ์. (2561). อิทธิพลของภาพลักษณ์องค์กรส่วนประสมการตลาดและประโยชน์ที่ได้รับที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านทางเว็บไซต์ Lazada ของผู้บริโภคในจังหวัดกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ทิฆัมพร ยอดปัญญา. (2563). พฤติกรรมการซื้อเครื่องเขียนออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชัน Shopee ของประชากรในกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระการบัญชีมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ธรรมรัตน์ ธารีรักษ์. (2564). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชันในประเทศไทย.การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม.
ธิคณา ศรีบุญนาค และอุมาพร พงษ์สัตยา. (2562). ส่วนประสมการตลาดที่ส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อเครื่องสําอางเกาหลีผ่านแอปพลิเคชันออนไลน์. วารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2(3), 88 – 100.
นิธินาถ วงศ์สวัสดิ์ และปวีณา คำพุกกะ. (2557). ความตั้งใจของผู้ซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านอินเทอร์เน็ต. วารสารสมาคมนักวิจัย, 19(2), 56-67.
บุญชม ศรีสะอาด. (2556). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่9). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
ปิยมาภรณ์ ช่วยชูหนู. (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านทางสังคมออนไลน์. การศึกษาค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ปิยะวรรณ แซ่อึ้ง. (2562). ความพึงพอใจในการซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชั่น Shopee. การศึกษาค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. คณะบริหารธุรกิจ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
เปรมกมล หงษ์ยนต์. (2561). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชั่นออนไลน์ (ลาซาด้า) ของผู้บริโภคยุคดิจิทัลในกรุงเทพมหานคร. การศึกษาค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยสยาม.
พนิดา อ่อนลออ และสุรพงษ์ โสธนะเสถียร. (2559). กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดออนไลน์ที่ทำให้ลาซาด้า (Lazada) ประสบความสำเร็จ. การค้นคว้าอิสระวารสารศาสตรมหาบัณฑิต. คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พรรวินท์ พลอยประเสริฐ. (2563). พฤติกรรมการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์ของประชากรในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
พิมพุมผกา บุญธนาพีรัชต์. (2560). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ Food Delivery ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. การศึกษาค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พิรพัฒน์ เทวกุล. (2564). การตัดสินใจสั่งอาหารผ่านแอปพลิเคชัน GrabFood ของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. การศึกษาค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. คณะบริหารธุรกิจ: มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
พิรัชย์ชญา คล่องกำไร. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าผ่านเฟซบุ๊กของกลุ่มเจเนอเรชั่นวายในกรุงเทพมหานคร. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 12(1), 132-149.
รังสรรค์ มณีเล็ก, วรรณ์ดี แสงประทีปทอง, บุญศรี พรหมมาพันธุ์, บุญเชิด ภิญญอนันตพงษ์, ทัศนีย์ ชาติไทย, กัญจนา ลินทรัตนศิริกุล, ... ชาญวิทย์ เทียมบุญประเสริฐ. (2546). มิติใหม่ทางการศึกษา "ทิศทางการจัดการศึกษาในอนาคต". กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช.
วะสา ปฏิสัมภิททาวงศ์. (2563). กระบวนการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าผ่าน Application Shopee ในสถานการณ์การแพร่ระบาด Covid-19 ของประชากรในกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. คณะบริหารธุรกิจ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วิวิศนา โชติศักดิ์. (2563). ความพึงพอใจของผู้ซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชัน Lazada ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร.การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจบัณฑิตมหาบัณฑิต. คณะบริหารธุรกิจ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วิศิษฐ์ ธรรมจรัส. (2560). การศึกษาความพึงพอใจในการใช้บริการร้าน Burger King สาขา The Bright พระราม 2. การศึกษาค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยสยาม.
ศิรินทิพย์ เหลืองสุดใจชื้น. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าผ่านทางระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของนิสิตปริญญาตรีในมหาวิทยาลัยเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัย ศิลปากร.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์, ศุภร เสรีรัตน์, ปณิศา มีจินดา, อรทัย เลิศวรรณวิทย์, ปริญ ลักษิตานนท์, องอาจ ปทะวานิช, ... จิระวัฒน์ อนุชชานนท์. (2560). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.
ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร. (2563). ธุรกิจอาหารเดลิเวอรี่ในประเทศไทย. สืบค้นจาก http://fic.nfi.or.th/MarketOverviewDomestic-Detail.php?id=166
สุณิสา ตรงจิตร์. (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านช่องทางตลาดกลางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Marketplace). การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจบัณฑิตมหาบัณฑิต. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุวิมล ติรกานันท์. (2557). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อดิลักษณ์ พุ่มอิ่ม. (2564). พฤติกรรมการสั่งอาหารออนไลน์ที่มีความสัมพันธ์กับส่วนประสม ทางการตลาดผ่านโมบายแอปพลิเคชันในจังหวัดปราจีนบุรี. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 13(3), 188 - 209.
. (2565). การพัฒนารูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ คุณภาพการให้บริการที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคสำหรับตลาดกลางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์. วารสารวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน, 8(1), 5-19.
อภิญญา มาตคูเมือง และจิราพร ชมสวน. (2561). ปัจจัยความเสี่ยงที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
อรษา ทิพย์เที่ยงแท้ และพิภพ วชังเงิน. (2558). ส่วนประสมทางการตลาดส่งผลต่อการใช้บริการธนาคารออมสินในเขตอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์, 8(1), 62 – 69.
อิราวัฒน์ ชมระกา, ชัชชัย สุจริต, ภาศิริ เขตปิยรัตน์, ศิริกานดา แหยมคง และเบญจวรรณ สุจริต. (2565). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายแฟชั่นผ่านช่องทางการตลาดแบบออนไลน์ของประชาชนในจังหวัดอุตรดิตถ์. วารสารลวะศรี, 6(1), 106 - 125.
อิสรีย์ อนันต์โชคปฐมา. (2558). ส่วนประสมทางการตลาดและการตัดสินใจซื้อสินค้าใน Line Giftshop. การศึกษาค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Black, K. (2019). Business Statistics: For Contemporary Decision Marking. (10th Asia Edition). USA: John wiley & Sons. pp. 832.
Carmudi PH. (2562). Gatchalian Wants Grab to Shoulder Canceled Orders. Retrieved from https://www.carmudi.com.ph/journal/-gatchalian-wants-grab-to-shoulder-canceled-orders/
Engel, J. F., Blackwell, R. D., and Miniard, P. W. (1995). Consumer Behavior. (8th ed.). Chicago. New York: Dryden Press.
Huanming Chen และพอดี สุขพันธ์. (2565). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการศูนย์รักษาผู้มีบุตรยากในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 15(2), 37-49
Kotler, P. (2015). Marketing Management (Global ed). Simon & Schuster. USA: Pearson.
Kotler, P., & Keller, K. L. (2016). Marketing Management. (15th global edition). Edinburgh: Pearson Education.
Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607 –610.
Lin, H. F. (2006). Understanding behavioral intention to participate in virtual communities. Cyberpsychology & Behavior, 9(5), 540.
Ebel, R. L., & Frisbie, D. A. (1986). Essentials of Educational Measurement, 4th Ed. Englewood Cliffs. New Jersey: Prentice-Hall.