การสังเคราะห์ต้นแบบกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้โครงงานเป็นฐานด้วยจินตวิศวกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะ การสร้างผลงานมัลติมีเดียเชิงสร้างสรรค์ และทักษะการเรียนแบบร่วมมือ (The synthesis of activity model using project-based learning of imagineering to enchance creative construction of multimedia skills and cooperative skills)
Main Article Content
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อสังเคราะห์ต้นแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐานด้วยจินตวิศวกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะการสร้างผลงานมัลติมีเดียเชิงสร้างสรรค์และทักษะการเรียนแบบร่วมมือ และ 2) เพื่อประเมินความเหมาะสม ในการสังเคราะห์ต้นแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐานด้วย
จินตวิศวกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะการสร้างผลงานมัลติมีเดียเชิงสร้างสรรค์และทักษะการเรียนแบบร่วมมือ การดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ 1) ศึกษาและสังเคราะห์ เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับต้นแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐานด้วยจินตวิศวกรรมที่พัฒนาขึ้น 2) สังเคราะห์ต้นแบบกิจกรรมการเรียนการสอนสำหรับระบบการเรียนรู้บนเว็บแบบโครงงานเป็นฐานด้วยจินตวิศวกรรมที่พัฒนาขึ้น และ 3) ประเมินความเหมาะสมในการสังเคราะห์ต้นแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐานด้วยจินตวิศวกรรมที่พัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขาเทคโนโลยีทางการศึกษา สาขาคอมพิวเตอร์ และสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา จำนวน 5 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ ต้นแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐานด้วยจินตวิศวกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะการสร้างผลงานมัลติมีเดียเชิงสร้างสรรค์และทักษะการเรียนแบบร่วมมือ และแบบประเมินความเหมาะสม ในการสังเคราะห์ต้นแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐานด้วย
จินตวิศวกรรมที่พัฒนาขึ้นสถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า 1) ต้นแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐานด้วยจินตวิศวกรรมที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 6 กิจกรรมดังนี้ คือ กิจกรรมการใช้และแบ่งปันทรัพยากรร่วมกัน กิจกรรมการออกแบบและตัดสินใจร่วมกัน กิจกรรมการทำงานร่วมกัน กิจกรรมการนำเสนอและปฏิสัมพันธ์กลุ่มร่วมกัน กิจกรรมการแก้ไขและสรุปผลงานร่วมกัน และกิจกรรมการประเมินผลงานร่วมกัน 2) ผลการประเมินความเหมาะสมในการสังเคราะห์ต้นแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐานด้วยจินตวิศวกรรมที่พัฒนาขึ้น (องค์ประกอบรวม) มีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 3) ผลการประเมินความเหมาะสมในการสังเคราะห์กิจกรรมการเรียนการสอนและพฤติกรรมที่ต้องการวัดในแต่ละขั้นตอนในกระบวนการเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรมที่พัฒนาขึ้น พบว่า ความเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนการสอนทั้ง
6 กิจกรรม ในองค์ประกอบโดยรวม มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด
The objectives of this research were to 1) synthesize the activity model using project-based learning of imagineering to enchance creative construction of multimedia skills and cooperative skills (Activity Model for PjBL-Multimedia), and 2) evaluate the suitability of the synthesis of activity model using project-based learning of imagineering to enchance creative construction of multimedia skills and cooperative skills. The research was divided into three phases, namely 1) the study and synthesis the relevant theories and research of Activity Model for PjBL-Multimedia, 2) the synthesis of the Activity Model for PjBL-Multimedia, and 3) the suitability evaluation of the synthesis of the Activity Model for PjBL-Multimedia. The sample group included 5 experts in the fields of education technology, computer and information & communication technology. Research tools included Activity Model for PjBL-Multimedia and questionnaires. Data were analyzed by arithmetic mean and standard deviation. Results of the research were as follows: 1) the Activity Model for PjBL-Multimedia included 6 activites which were using and sharing resources, design and joint decision, teamwork, presentation and joint interaction, improvement and joint conclusion and joint evaluation; 2) the overall suitability of the synthesis model in terms of elements was at a very high level; and 3) the overall suitability of the synthesis of the activities into imagineering learning process and behavior of all the six activities was at a very high level.
Article Details
References
Bureau of Vocational Education Research and Development. (2012). Manual of the Robotics Competition “Crossing the Bridge Legend of Love”(คู่มือการแข่งขันหุ่นยนต์ “ข้ามสะพานตำนานแห่งความรัก”). Bangkok: Vocational Education Commission in conjunction with Border Patrol Police.
Donfungphrai, P. (2005). The comparision of learning achivement and self-discipline acquisition in studying social sciences between 9th Grade students taught by the co-opetative learning approach and the regular approach (การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาและความมีวินัยในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนแบบร่วมมือและการเรียนแบบปกติ). Master’s dissertation, Nakhon Pathom Rajabhat University, Nakhon Pathom, Thailand.
Guzdial, M. & Tew, E.A. (2006). Imagineering inauthentic legitimate peripheral participation: an instructional design approach for motivating computing education. The Second International Computing Education Research Workshop: ICER’06, September 9–10, Canterbury, United Kingdom.
Jansukwong, N. (2008). Research and development of project activity plans applying creative problem-solving process to develop creative thinking, teamwork skills, and product qulity of elementary school students (การวิจัยและพัฒนาแผนกิจกรรมโครงงานที่ประยุกต์ใช้กระบวนการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการทำงานกลุ่ม และคุณภาพผลงานของนักเรียนประถมศึกษา). Master’s dissertation, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand.
Johnson, D. & Johnson, R. (1987). Learning together and alone (2nd ed). Englewood Cliffs, NJ:PrenticeHall.
Johnson, D. & Johnson, R. (2003). Joining together : group theory and group skills. Boston: Allyn and Bacon.
Kangvaravoot, C. (2014). The development of arts evolution instructional model via Cloud Technology to enhance creative economy work (การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบศิลปภิวัฒน์ผ่านคลาวด์เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมผลงานสร้างสรรค์ตามแนวเศรษฐกิจสร้างสรรค์). Doctor’s dissertation, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok, Bangkok, Thailand.
Khamwisang, T. (2004). The development of child-centered instructional activities for Grade-4 “Our Province” unit in the social studies, religion and culture learning substance based on the CIPPA model and co-operative learning (การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ จังหวัดของเรา โดยใช้รูปแบบซิปปาร่วมกับรูปแบบการเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้). Master’s dissertation, Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand.
Khemmani, T. (2009). Science of teaching: knowledge of efficient learning process management (ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ) (11th ed.). Bangkok: Chulalongkorn University Press.Langford, D. (2010). Imagineering. Montana:
Langford, D. (2010). Imagineering. Montana: Langford International, Inc.
Laisema, S. (2014). Ubiquitous learning Environment-based virtual collaborative learning system for creative problem solving to enhance reative thinking and collaboration skills (ระบบการเรียนรู้ร่วมกันด้วยทีมเสมือนจริงในสภาพแวดล้อมการเรียนแบบภควันตภาพโดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และทักษะการทำงานร่วมกัน). Doctoral dissertation, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok, Bangkok, Thailand.
National Education Commission. (1997). National education development plan No.8 (B.E.2540-2544) (แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540-2544)). Bangkok: National Education Commission, Office of the Prime Minister.
Ngamchareonmongkon, J. (2004). Constructivism through action learning in social studies: a model for developing for grade seven in Khon Kaen
Vithes Suksa Bilingual School (การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนแบบ Action Learning เพื่อพัฒนาทักษะการสร้างองค์ความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนขอนแก่นวิเทศศึกษา). Master’s dissertation, Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand.
Nilsook, P. (2013). Imagineering in education (จินตวิศวกรรมทางการศึกษา). Journal of Technical Education Development, 26(88), 14-19.
Nilsook, P. & Wannapiroon, P. (2013). Imagineering learning (การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม). Journal of Technical Education Development, 25(86), 33-37.
Nijs, D., & Peters, F. (2002). Imagineering, het creeren van belevingswerelden die blijven boeien, Boom, Amsterdam.
Office of the Education Council. (2012). Development of characteristics in the new generation of learners to respond to the educational reformation in the 2nd decade by integrating IT in the project-based instructional management (การพัฒนาคุณลักษณะผู้เรียนยุคใหม่เพื่อรองรับการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ด้วยการบูรณาการไอซีทีในการจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการ). Bangkok: Board of Education
Parnership for 21st century skills. (2009). Framework for 21st century learning. Washington. [cited 2012 October]. Available from: http://www.p21.org. referred to in Nilsook, P. & Wannapiroon, P. (2013). Imagineering Learning (การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม). Journal of Technical Education Development, 25(86), 33-37.
Palacheewa, P. (2012). Enhancing metacognitive skills using computer-supported collaborative learning with brainstorming and argumentative technique in Project-based learning using strategic metacognition questions for upper secondary school students (การเสริมสร้างทักษะเมตาคอกนิชันด้วยคอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนร่วมกันที่ใช้เทคนิคการระดมสมองและเทคนิคการโต้แย้งในการเรียนแบบโครงงาน เป็นฐานที่ใช้คำถามเชิงกลยุทธ์เมตาคอกนิชันสำหรับนักเรียมัธยมศึกษาตอนปลาย). Doctoral dissertation, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand.
Paczuska, A. (2012). After school clubs. INGENIA Issue 50 March 2012, 2-7.
Prosperi, L. J. (2011). The imagineering model. Tax and Utilities Global Business Unit, Oracle.
Pukiat, L. (2001). Project for learning: the principles and concepts of activity (โครงงานเพื่อการเรียนรู้ : หลักการและแนวคิดการจัดกิจกรรม). Project, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand.
Pukiat, L. & Suwanketnikom, S. (2004). A development of the project approach for Mathematics instruction model to enhance learning process, group process and self reliance awareness of elementary education students (การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์แบบโครงงาน เพื่อเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ กระบวนการทำงานกลุ่ม และความตระหนักในการพึ่งตนเองของนักเรียนระดับประถมศึกษา). Research Report, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand.
Valaya Alongkorn Rajabhat University under the Royal Patronage. (2010). Manual for the Mangment Teaching of Child-Centered Learning (คู่มือการจัดระบบการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้). Phathum Thani: Tienwattana Printing Co., Ltd.
Wongsuwan, S. (1999). Learning in the 21st century: learning in which learners create knowledge by their own (การเรียนรู้สำหรับศตวรรษที่ 21 : การเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยตนเอง). Bangkok: Department of Curriculum and Instruction Development.
Wright, A. (2008). The imagineering field guide to Disneyland. Disney Editions.
Yates, D. (2012). National grid support for new models. The Imagineer. Issue 4 Spring.