ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรภาครัฐต่อการเป็น มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ (Public Autonomous University)

Main Article Content

พิชญา หอมหวล (Pichaya Homhuan)
ธีระวัฒน์ จันทึก (Thirawat Chantuk)

Abstract

       การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรภาครัฐต่อการเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ และศึกษาการจูงใจในการปฏิบัติงานที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรภาครัฐต่อการเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคลากรที่ปฏิบัติงานภายในมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ จำนวน 400 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ T-test,    F-test (ANOVA) และ Multiple Regression ผลการวิจัยพบว่า 1) ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรภาครัฐต่อการเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐในภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมาก (= 3.47, S.D. = 0.68) และยังพบว่าบุคลากรที่มีอายุ สถานะภาพ ประเภทสายงาน ระดับการศึกษา รายได้ และอายุการทำงานที่แตกต่างกันส่งผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรภาครัฐต่อการเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐแตกต่างกัน 2) การจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรต่อการเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ในภาพรวมอยู่ในระดับมีการจูงใจมาก ( = 3.47, S.D. = 0.67) และยังพบว่าการจูงใจในการปฏิบัติงานในด้านการได้รับการยอมรับนับถือ ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งงาน และด้านความสำเร็จในการทำงาน ส่งผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรภาครัฐต่อการเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ


         This research aim to study government personnel’s job satisfaction with a public autonomous university and job motivations that influence their job satisfaction. Questionnaire was used for data collection. The sample of this study was 400 government personnel of a public autonomous university, using the accidental sampling method. The statistics which were used for analysis were T-test, F-test (ANOVA) and Multiple Regression. The results were as follows. 1) Government personnel’s job satisfaction with the public autonomous university was at a high level (= 3.47, S.D. = 0.68), and the differing age, status, category of job, education, income and length of employment were the factors affecting the differences in government personnel’s job satisfaction with the public autonomous university. 2) Overall job motivation of government personnel of the public autonomous university was at a high level ( = 3.47, S.D. = 0.67). In terms of job motivation, the recognition, job advancement and career success influences government personnel’s job satisfaction with the public autonomous university.  

Article Details

Section
บทความประจำฉบับ

References

Cohen, J., Cohen, P., West, S. G., & Aiken, L. S. (2003). Applied multiple regression/correlation analysis for behavioral sciences (3rd ed.). New Jersey: Lawrence Erlbaum Association.

Herzberg, F., Mausner, B., & Snyderman, B. (2011). The motivation to work. New York: John Wiley & Son.

Junnuan, P. (2015). The forest level of Success in the management of the internal quality assurance in course level of Suansunandha Rajabhat University (การคาดการณ์ระดับความสำเร็จในการบริหารงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา). SSRU Graduate Studies Journal, 2(2), 164–180.

Keesukpan, A. (1990). Management skills and practices (การบริหารทักษะและการปฏิบัติ) (2nd ed.). Bangkok: Aroonkarnpim.

Kubkaew, S. (2013). Personnel development needs and work satisfaction of employee of Japanese and american/european companies at an industrial estate in Ayutthaya Province (ความต้องการพัฒนาบุคลากรและความพึงพอใจในการทำงานของพนักงานบริษัทญี่ปุ่นและบริษัทสหรัฐอเมริกา/ยุโรป ในนิคมอุตสาหกรรม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา). Master’s dissertation, Valaya Alongkorn Rajabhat University under the Royal Patronage.

Kumpon, S. (2013). The job expectation and job satisfaction of operator: a case study of one consumer house in Ladkrabang industrial estate (ความคาดหวังและความพึงพอใจในการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการ : กรณีศึกษาบริษัทผู้ผลิตสินค้าอุปโภคและบริโภคแห่งหนึ่ง ในเขตนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง). Independent Study Master of Arts Program in Public and Private Management Program of Public and Private Management Graduate School, Silpakorn University, Thailand.

Locke, E. A. (1983). The nature and cause of job satisfaction. Chicago: Band McNally.

Lubbuangam, P. (2013). SatIisfaction and expectation of personnel administration in higher education institutions under the governmental regulations (ความพึงพอใจและความคาดหวังในการบริหารงานบุคคลของสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ). Master of Education Department of Educational Administration Graduate School, Silpakorn University, Thailand.

Maslow, A. H. (1970). Motivation and personality (2nd ed.). New York: Harper & Row.

Noiboonterm, S. (2013). Relationship between depression and job satisfaction of nurses in Surat Thani Hospital (ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้ากับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพยาบาล ในโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี). Independent Study Master of Arts Program in Public and Private Management Program of Public and Private Management Graduate School, Silpakorn University, Thailand.

Nugooneungaree, S. (2012). Study employee job satisfaction Thai Airways International Public Company Limited: a case study of office (head office) Thai Airways International Public Company Limited (การศึกษาความพึงพอใจในงาน ของพนักงานบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) กรณีพนักงานบริษัทการบินไทยฯ สำนักงานใหญ่). Independent Study Master Graduate School, University of the Thai Chamber of Commerce.

Satayathum, P. (2007). Employee job satisfaction: a case study of YHS International Limited (ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน กรณีศึกษา : บริษัท วาย เอช เอส อินเตอร์ เนชั่นแนล จํากัด). Master’s dissertation, Graduate School of Human Resource Development NIDA.

Sinjaru, T. (2007). Research and analysis of statistic by SPSS (การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS). Bangkok: V.inter print.

Sriviset, B. (2006). Study employee job satisfaction of Hino Motors Manufacturing (Thailand) Ltd. (ศึกษาเรื่องความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท ฮีโน่มอเตอร์ส แมนู แฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด). Independent Study Master Graduate School of Public Administration, Burapha University, Thailand.

Yamane, T. (1973). Statistics and introductory analysis (3rd ed.). New York: Harper & Row.

Yamvaji, N. (1999). The national education act and amendments 1999 (คำอธิบาย...พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542) [Online]. Retrieved March 6, 2017 from https://www.moe.go.th/hp-vichai/ex-prb05-5.html

_______. (2015). Public university become public autonomous university (มหาวิทยาลัยของรัฐพาเหรดออกนอกระบบเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ) [Online]. Retrieved March 6, 2017 from https://p-dome.com/out-control-university.