การสื่อสารนันทนาการแห่งอนาคตในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (Future recreational communication from the intelligence of His Majesty King Bhumibol Adulyadej of Thailand)
Main Article Content
Abstract
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของพระราชอัจฉริยภาพในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชในการเป็นต้นแบบของการส่งเสริมนันทนาการแห่งอนาคต ด้วยระเบียบวิธีวิจัยเทคนิคเดลฟาย กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ (นักวิชาการ) จากกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคใต้ กลุ่มมหาวิทยาลัยเอกชนภาคใต้ กลุ่มมหาวิทยาลัยด้านวิจัยภาคใต้ กลุ่มสถาบันการพลศึกษาภาคใต้ กลุ่มสถาบันราชมงคลภาคใต้และกลุ่มนักกิจกรรมของภาคใต้ จำนวน 15 ท่าน
ผลการวิจัยพบว่า พระราชอัจฉริยภาพในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีศักยภาพในการเป็นต้นแบบของการส่งเสริมนันทนาการแห่งอนาคตดังนี้ 1) ความพอเพียง โดยส่งเสริมให้บุคคลสามารถเข้าถึงดุลภาพในการเดินทางสายกลาง มีความพอดี พอควรและเพียงพอ 2) สุขภาพ โดยส่งเสริมให้บุคคลมีคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งกายและจิตใจ รวมทั้งมีศักดิ์ศรีภูมิและเป็นที่ยอมรับนับถือในสังคม 3) สามารถสร้างความรักต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ภายใต้แนวคิดความเป็นไทยแท้ เอกลักษณ์ความเป็นไทย และความรักที่มีต่อพระองค์ท่านในการป้องกันประเทศชาติและสร้างความสมานฉันท์เป็นหนึ่งเดียวของคนไทยทั้งมวล และ 4) ความสามารถด้านการสื่อสารซึ่งเป็นศาสตร์ของพระราชาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
This research aims to study the possibility of the recreational communication in the future based on the intelligence of His Majesty King Bhumibol which consists of fine arts, sculptures, music, photography, literatures, and sports from the different perspectives. This research employed the Delphi technique and the 15 selected samples are scholar members from different institutes in the southern region of Thailand, such as Rajabhat Universities, private universities, research institutions, physical education institutes, and Rajamangala Institutes and also the group of activists. The employed statistics are median and quartile range.
The results indicated that the samples agreed that the possibility of the recreational communication on the basis of His Majesty King Bhumibol’ intelligence can serve as the model for: 1) sustainability by encouraging people to realize the benefits of sustainability, 2) health by encouraging people to improve both physical and mental health as well as to maintain their self-esteem, 3) support for respect and loyalty towards the nation, religion, and the monarchy based on the uniqueness of Thai culture which leads to the harmonization among Thais, and 4) ability to communicate which is an art of the king.
Article Details
References
Kaewnoprarat, Daoprakai. (2006). Use of Recreation Activities to Develop Social Skills of Students with Mental Retardation (การใช้กิจกรรมนันทนาการเพื่อพัฒนาทักษะทางสังคมของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา). M.A. (Special Education). Chiang Mai: Graduate School Chiang Mai University.
Kaveeya, Somkuan. (2004). Eleven Elephants Paradigm (กระบวนทัศน์ช้าง 11 เชือก). Bangkok: Aksara Publishing.
Kaveeya, Somkuan. (2009). Parties Member in Communication Arts: Love dominates the universe, Lessons from the Great Crisis of Thailand 2006-2010 (ภาคีสมาชิกสาขานิเทศศาสตร์. “ความรักจักครองจักรวาล บทเรียนจากมหาวิกฤตไทย ปี 2549-2553”). In Royal Society and Parties Member Conference on 4 August 2010.
Kaveeya, Somkuan. (2011). Parties Member in Communication Arts: Immortality Theory (ภาคีสมาชิกสาขานิเทศศาสตร.์ “ทฤษฎีใหม่ว่าด้วยความเป็นอมตะ (immortality)”). In Royal Society and Parties Member Conference, on 27 April 2011.
Lanpan, Saifon. (2006). Using Recreation Activities to Decrease Blindism of the Child with Visual Impairment, Northern School for the Blind under the Patronage of the Queen (การใช้กิจกรรมนันทนาการเพื่อลดพฤติกรรมการกระตุ้นตนเองของเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือ ในพระบรมราชินูปถัมภ์จังหวัดเชียงใหม่ (ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการศึกษาพิเศษ)). M.Ed. (Special Education). Chiang Mai: Graduate School Chiang Mai University.
Likert, R. (1967). The Method of Constructing and Attitude Scale. In Reading in Fishbeic, M (Ed.), Attitude Theory and Measurement (pp. 90-95). New York: Wiley & Son.
Onkor, Prasopchoke. (2016). His Majesty King Bhumibol Adulyadej and Recreation (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชกับนันทนาการ). Department of Physical Education Ministry of Tourism and Sports. Bangkok: Pimdeekarnpim Printing.
Pramprasit, Radkao. (2015). Economic and Social Policy (Lecture Note) (นโยบายเศรษฐกิจและสังคม (เอกสารประกอบการเรียน)). Pisanulok: Faculty of Social Sciences, Naresuan University.
Savagpun, Pufa. (2006). Development of a Leisure Education Program Model for Children with Mental Retardation (การพัฒนารูปแบบโปรแกรมนันทนจิตศึกษาสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา). Ph.D. (Physical Education). Bangkok: Chulalongkorn University.
Sittpanee, Pimjai. (2003). Use Recreational Activities to Enhance Development of Preschool Children (การใช้กิจกรรมนันทนาการเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กวัยก่อนเข้าเรียน). M.Ed. (Educational Psychology and Guidance). Chiang Mai: Graduate School Chiang Mai University.
Suttithakol, Nopparat. (2003). The Effect of Recreation activities on the Development of Emotional Intelligence of Students in Matayomsuksa 4 at Bangpleerajbumrung School, Samut Prakan (ผลของกิจกรรมนันทนาการที่มีต่อการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบางพลีราษฎรบำรุง จังหวัดสมุทรปราการ). M.S. (Recreation Management). Bangkok: Graduate School Srinakharinwirot University.
Suwanthip, Veerayuth. (2010). The King’s Philosophy: Wisdom Concept Led to Practice to Make People into Human Being (ศาสตร์แห่งพระราชาแนวคิดภูมิปัญญานำไปสู่การปฏิบัติ เพื่อคนให้เป็นคน). 1st ed. Chiang Mai: Suthep Publishing.
Vejjajiva, Ngampan. (2012). Our king (ในหลวงของเรา). Bangkok: The National Identity Office.
Wungkee, Aranya. (2009). Using Recreation Activities to Develop Assertive Behavior of Mathayom Suksa 3 Girl Guides, Pasang School (การใช้กิจกรรมนันทนาการเพื่อพัฒนาพฤติกรรมกล้าแสดงออกของนักกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนป่าซาง จังหวัดลำพูน). M.Ed. (Educational Psychology and Guidance). Chiang Mai: Graduate School Chiang Mai University.
Youth Activity Committee, National Council on Social Welfare of Thailand. (1971). The influence of Social Work (รายงานการประชุมศึกษาเรื่องอิทธิพลของสังคมสงเคราะห์). Research report.