รูปแบบการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมและเครือข่ายการเรียนรู้: การวิจัยแบบพหุกรณีและการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (The research report on the model of development of cultural learning resources and learning networks: A multiple case study and participatory action research)

Main Article Content

ชนันภรณ์ อารีกุล (Chananporn Areekul)

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์องค์ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมและเครือข่ายการเรียนรู้ และนำเสนอรูปแบบการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมและเครือข่ายการเรียนรู้ โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพแบบพหุกรณีและการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม พื้นที่กรณีศึกษา ได้แก่ ชุมชนกุฎีจีน ชุมชนเกาะศาลเจ้า ชุมชนบางลำพู และชุมชนบ้านบุ กรุงเทพมหานคร ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ คนในชุมชน จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ ผลการวิจัย พบว่า 1) การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม มีองค์ประกอบ 6 ด้าน ได้แก่ ด้านข้อมูลและชุดความรู้ ด้านผู้ให้ข้อมูลและผู้ถ่ายทอด ด้านกิจกรรมและกระบวนการเรียนรู้ ด้านสื่อการเรียนรู้ ด้านสถานที่ และด้านการบริหารจัดการ สำหรับการพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้ในชุมชน มีองค์ประกอบ 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการศึกษาเรียนรู้ร่วมกันในระดับกลุ่มและชุมชน ด้านการกระตุ้นให้เกิดความสนใจร่วมกัน ด้านการตระหนักถึงความจำเป็นในการเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายด้านการเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่าย และด้านการสรุปประสบการณ์และการขยายเครือข่าย และ 2) รูปแบบการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมและเครือข่ายการเรียนรู้ ประกอบด้วย การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมและการพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้ดังกล่าวข้างต้น และการมีส่วนร่วมกันของคนในชุมชน 5 ด้าน ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการศึกษาปัญหา การมีส่วนร่วมในการวางแผน การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ การมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ และการมีส่วนร่วมในการประเมินผล โดยสามารถใช้กระบวนการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมและเครือข่ายการเรียนรู้ได้


The purposes of this study were to synthesize the components of cultural learning resources development and learning networks development and present model of development of cultural learning resources and learning networks. The research methodology involved multiple case studies and participatory action research. The case studies were conducted in Kudi Chin, Koh San Chao, Banglamphu, and Ban Bu in Bangkok, with 40 key informants. The instrument used was an interviewing form. The results were as follow: 1) The 6 components of cultural learning resources development included information and knowledge, learning networks development, informants and broadcasters, activities and learning processes, learning materials, places, and management. The 5 components of learning networks development were learning together at the group and community level, stimulating mutual interest, awareness of the need for networking, strengthening of the network, and summarizing of experiences and network expansion, 2) The model of development for cultural learning resources and learning networks comprised learning resources development, learning networks development, and the participation of people in the community that consisted of 5 aspects: participation in problems study, participation in planning, participation in practice, participation in receiving benefits, and participation in evaluation. Moreover, participatory action research can be used as a tool to drive cultural learning resources development and learning networks development.

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Articles)

References

Chaiyakote, Pramual. (2017). The Guideline Development of the Community Participatory for the Development Learning Resources of the Schools Under the Secondary Educational Service Area Office 20 (การพัฒนาแนวทางการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาแหล่งเรียนรู้สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20). Master’s dissertation, Mahasarakham University, Mahasarakham, Thailand.

Charungkaittikul, Suwithida. (2015). Philosophies and Concepts of Learning Society (ปรัชญาและมโนทัศน์สังคมแห่งการเรียนรู้). Bangkok: Chulalongkorn University Press.

Chawreu, Mongkol. (2003). Learning network development (การพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้). Ratchaphat Krungkao, 10(18): 27-35.

Chongpanyanon, Manusanit. (2017). Management of School Resources in Yom-Nuea Group Song District Phrae Province in Phrae Primary Educational Service Area Office 1 (การบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ของโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายการศึกษายมเหนือ อำเภอสอง จังหวัดแพร่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1). Master’s dissertation, University of Phayao, Phayao, Thailand.

Chuchat, Wimolluck. (1997). Propose Process Models of Learning Network for Forest Resources Conservation (การนำเสนอรูปแบบของกระบวนการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้สำหรับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้). Doctoral dissertation, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand.

Department of Cultural Promotion, Ministry of Culture. (2012). Cultural Learning Resources Map (แผนที่แหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม). [Online]. Retrieved January 13, 2021 from http://art.culture.go.th/culturemap/index.php?action=listsource&select=all

Kimpee, Pan. (1997). The Development of Non-Formal Education Learning Network for Community Self-Reliance (การพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้การศึกษานอกโรงเรียนเพื่อการพึ่งตนเองของชุมชน). Doctoral dissertation, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand.

Payungwong, Wisan, & Sriwichien, Thanyathorn. (2017). Guidelines of the development and the supporting learning resources by the community participatory of case study for the schools under Secondary Education Service Area Office 24 (แนวทางการพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของชุมชน กรณีศึกษา โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24). Journal of Education Mahasarakham University, 11(2): 171-183.

Phaetlakfa, Chakapong. (2013). Participation of urban community in developing arts and culture learning center: Case study, Lad Prao community (การมีส่วนร่วมของชุมชนเมืองในการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม: กรณีศึกษาชุมชนลาดพร้าว). Institute of Culture and Arts Journal Srinakharinwirot University, 14(2): 1-23.

Phongphit, Seri. (2005). Network (เครือข่าย). Bangkok: Charoenwit Printing.

Phrakhrupalad Sarawut Thitapanyo, Phramaha Krisada Kittisobhano, & Suyaporm, Surapon. (2017). Monastery development for community learning centers in Chonburi Province (การพัฒนาวัดเพื่อเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ของชุมชนในจังหวัดชลบุรี). Journal of MCU Social Science Review, 6(201): 505-522.

Pookphoo, Worapong. (2018). The Component of Learning Resources Development (องค์ประกอบการพัฒนาแหล่งเรียนรู้). [Online]. Retrieved January 13, 2021 from https://www.randdcreation.com/content/2992/

Sacharung, Sutipong. (2010). The Development of Participation in Organization of Learning According to Learning Resources of Local Knowledge, Tambon Phasuk, Amphoe Wang Sam Mo, Changwat Udon Thani (การพัฒนาการมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ตามแหล่งการเรียนรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนดานใหญ่ ตำบลผาสุก อำเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี). Master’s dissertation, Mahasarakham University, Mahasarakham, Thailand.

Somsakul, Ploenpit. (2016). Community learning resources management of museums and temples: A case study of Muang District, Lopburi Province (การบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ในชุมชนประเภทพิพิธภัณฑ์และวัด: กรณีศึกษา อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี). Journal of Cultural Approach, 17(32): 31-43.

Suk-udom, Yanisa, Tongdara, Chaturong, Saisophon, Rung-Arun, Sakolnukornkit, Nussara, Chuwan, Nopparat, Boonchaloem, Lalida, Aumpaisri, Benchawan, & Wongbuntawan, Thitima. (2018). The Development of Learning Resources to the Informal Education Management of the Local Community in Chachoengsao Province (Research Report) (การพัฒนาแหล่งเรียนรู้เพื่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยของชุมชนท้องถิ่นจังหวัดฉะเชิงเทรา) (รายงานวิจัย). Bangkok: Ministry of Education.

Tharawanit, Natalak. (2014). Learning Resources in the 21st Century for Promoting Lifelong Learning (แหล่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชน). In S. Charungkaittikul (Ed.), Lifelong Education and Lifelong Learning (การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต), (pp. 104-120). Bangkok: Chulalongkorn University Press.

Topanurakkun, Uamporn. (2015). A Participatory Action Research in Conserving and Passing on Thai Song Dum’s Cloth Weaving Wisdom (การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาผ้าทอไทยทรงดำ). Doctoral dissertation, Silpakorn University, Nakhon Pathom, Thailand.

Walaisatian, Parichart, Phramaha Suthit Ob-Aun, Wiset, Sahattaya, Benchasub, Chanthana, & Hasannaree, Chonlakarn. (1999). Developer’s Processes and Techniques Work (กระบวนการและเทคนิคการทำงานของนักพัฒนา). Bangkok: Thailand Research Fund.