อุปสงค์การกลับมาเที่ยวซ้ำและการเลือกที่พักของการท่องเที่ยวจังหวัดน่าน (The Demand of Tourists’ Revisiting and Accommodation Selection in Nan Province’s Tourism)

Main Article Content

สุรชัย จันทร์จรัส Surachai Chancharat
พงศธร ชัยสวัสดิ์ Pongsatorn Chaisawat
อโณทัย หาระสาร Anothai Harasarn

Abstract

ในการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่ออุปสงค์การกลับมาเที่ยวซ้ำและอุปสงค์การเลือกที่พักของนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยวในจังหวัดน่าน เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากนักท่องเที่ยวที่เป็นกลุ่มตัวอย่างจำนวน 533 ตัวอย่างทดสอบด้วยใช้แบบจำลองสองทางเลือก (binary logit) และแบบจำลองหลายทางเลือก (multinomial logit) ผลการศึกษาพบว่าความประทับใจในธรรมชาติสิ่งแวดล้อมของจังหวัดน่าน ภูมิลำเนาของนักท่องเที่ยว และจำนวนครั้งที่นักท่องเที่ยวเคยเดินทางมาท่องเที่ยวจังหวัดน่าน มีความสัมพันธ์กับอุปสงค์การกลับมาเที่ยวซ้ำในรอบ 12 เดือนในทิศทางบวก ในขณะที่อายุของนักท่องเที่ยวมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามและพบว่าบรรยากาศ สิ่งแวดล้อมและความสวยงามของที่พักมีอิทธิพลต่อการเลือกที่พักทั้งประเภทอุทยานแห่งชาติและรีสอร์ท เมื่อเปรียบเทียบกับการเลือกที่พักประเภทโรงแรมในทิศทางบวก

Article Details

Section
บทความประจำฉบับ
Author Biographies

สุรชัย จันทร์จรัส Surachai Chancharat, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Management Sciences,Khon Kaen University)

รองศาสตราจารย์ประจำสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

พงศธร ชัยสวัสดิ์ Pongsatorn Chaisawat, สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจคณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยขอนแก่น (Department of Economics, Faculty of Management Sciences, Khon Kaen University)

นักศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

อโณทัย หาระสาร Anothai Harasarn, คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ (Faculty of Business Administrationand Management, Ubon Ratchathani Rajabhat University)

อาจารย์ประจำสาขาการจัดการทั่วไป คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

References

Alegre, J. and Pou, L.(2006). The Length of Stay in the Demand for Tourism.Journal of Tourism Management, 27: 1343–1355

Budka, B. (2007). Economic Valuation for Wild Elephant in Thailand (การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการช้างป่าในประเทศไทย). Master’sdissertation, Kasetsart University, Bangkok, Thailand.

Carolina, M. and Pau, L. (2010). Cruise Tourists Returning to Curacao for a Land-based Vacation: A Logit Model. [Online]. Retrieved March 1, 2012 from https://sta.uwi.edu/conferences/09/salises/documents/L.%20Pau.pdf.

Chaturat, J. (2009). The Study of Factors and Satisfaction Levels of Thailand Tourist for Travel at Dusit Zoo (การศึกษาปัจจัยและระดับความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยต่อการเยี่ยมชมสวนสัตว์ดุสิต). Master’s dissertation,Thammasart University, Bangkok, Thailand.

Department of tourism.(2010). The Statisticsof Tourism. [Online]. Retrieved February 16, 2012 from https://123.242.133.66/tourism/th/home/index.php.

Hui, T. K., Wan, D., and Cheng, H. Y. (2010). Case Study of Tourist Revisit Behaviorin Singapore. Advances in Hospitality and Leisure, 6: 27-42.

Local Development Institute. (2008). Top 10 Livable Cities of Thailand (10 อันดับเมืองน่าอยู่ของไทย). Retrieved February 16, 2012 from https://www.ldinet.org

Ministry of Tourism and Sports. (2012). The Survey Project of the Proportion of Domestic Tourism Behavior in Year 2009 (Nan Province) (โครงการสำรวจสัดส่วนพฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศปี 2552 (จังหวัดน่าน)). [Online]. Retrieved February 16, 2012 from https://www.tourism.go.th/2010/upload/filecenter/file/stat_File_pdf52/north/nan.pdf.

Nakornthab, A. and Chancharat, S. (2013). Length of Stay and Frequency of Visits in Chiangkhan (ระยะเวลาการพำนักและการกลับมาเที่ยวซ้ำในอุปสงค์และการตัดสินใจในของการท่องเที่ยวเชียงคาน). Journal of Applied Economics, 20(2): 23-36.

Netsuwan, A. Suvannin, W., and Sriharun, B. (2012). Factors Affecting the Choosing of Type of Tourism Accommodation Service in Phetchabun Province. Valaya Alongkorn Review, 2(2): 63-71.

Phanyaporn, T. (2007). The Effect Factors of Thailand Tourist for Decision to Accommodation: Hotel, Resort and Guesthouse in Chiang Rai Province (การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยต่อการเลือกที่พักประเภทโรงแรม รีสอร์ท และเกสต์เฮาส์ ในจังหวัดเชียงราย). Master’s dissertation, Thammasart University, Bangkok, Thailand.

Suriya, K. (2004). Tourism Demand for Lampang (อุปสงค์ของการท่องเที่ยวจังหวัดลำปาง). Chiang Mai: Faculty of Economics, Chiang Mai University

Tharuaruk, K. (2005). The Model of the Path Decision Behavior by Binary Logit (รูปแบบจำลองพฤติกรรมการเลือกเส้นทางโดย Binary Logit). Bangkok:National Research Council of Thailand.

Thailand Development Research Institute. (2000). A Study of the Development of Environmental Impact Assessment: The Case of Environmental Economics (การศึกษาพัฒนาการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม: ด้านเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม). Bangkok: Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning.

Unthong, A. (2007). The Handbook of the Basic LIMDEP Program for Econometrics Analysis (คู่มือการใช้โปรแกรม LIMDEP เบื้องต้น สำหรับการวิเคราะห์ทางเศรษฐมิติ). Chiang Mai: Social Research Institute,Chiang Mai University,Chiang Mai, Thailand.

Vanichbuncha, K. (2001). Statistical Snalysis: Statistics for Decision Making (การวิเคราะห์สถิติ: สถิติเพื่อการตัดสินใจ) (5th ed.). Bangkok:Chulalongkorn University.

Watthanasirisereekun, S. (2011). Factors Affecting International Tourists’ Decision to Revisit Thailand (ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจกลับมาเที่ยวประเทศไทยซ้ำของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ). Master’s dissertation,Chiang Mai University, Chiang Mai, Thailand.

Yamane, T. (1967). Statistics: An Introductory Analysis (2nd ed). New York: Harper and Row.