ผลิตภัณฑ์หัตถกรรมกับการพัฒนาสู่สินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (Handicraft Products and the Development into the OTOP Products)
Main Article Content
Abstract
งานหัตถกรรมเป็นผลงานสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ที่มีคุณค่า ทำจากวัสดุธรรมชาติและใช้เครื่องมือพื้นบ้านในการผลิตด้วยทักษะฝีมือและความชำนาญที่ได้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นเกิดเป็นผลงานหัตถกรรมที่มีคุณค่า เพื่อนำมาใช้งานให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตและสภาพแวดล้อม แสดงถึงความเป็นอัตลักษณ์และศิลปวัฒนธรรมของ
งานหัตถกรรมในท้องถิ่นนั้น และนำมาซึ่งการพัฒนาสู่การเป็นผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างอาชีพและรายได้ให้กับชุมชน
แนวทางการพัฒนาสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ให้เกิดความยั่งยืน คือ การสร้างสรรค์ผลงานหัตถกรรมให้เกิดคุณค่า 4 ประการ ได้แก่ คุณค่าความเป็นอัตลักษณ์เฉพาะถิ่น (identity values) คุณค่าของวัสดุและกรรมวิธีการผลิต (material and process Values) คุณค่าทางความงาม (aesthetic values) และคุณค่าทางประโยชน์ใช้สอย (functional values) ซึ่งองค์ประกอบพื้นฐานดังกล่าว จะเป็นกรอบในการสร้างสรรค์ผลงานหัตถกรรมในแต่ละชุมชน ซึ่งจะแฝงไว้ด้วยความเป็นอัตลักษณ์ ภูมิปัญญาและ
ศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่น
Article Details
References
Dansilp, T. and Freeman, M. (2002). Thing Thai: Craft and Collectibles. Bangkok: Asia Books.
Downong, P. (2011). A Kalasin Prae Wa Sink (ความเป็ นมาของผ้าไหมแพรวากาฬสินธุ์). [Online]. Retrieved August 30, 2014 from http://www.nomkaw.blogspot.com/p/blog-page_8959.html.
Isaacs, R. and Blurton, R. (2000).Burma and the Art of Lacquer. Bangkok: River Books
Leesuwan, V. (1993). Arts and Crafts (ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน). Bangkok: Tonor.
Leopairote, K. (2013). Handicrafts Identity of Thailand (อัตลักษณ์หัตถกรรมไทย). [Online]. Retrieved March 20, 2014 from http://www.eureka.bangkokbiznews.com/detail/484496.
Nakhonsithammarat. (2009). Lygodium Wicker (งานจักสานย่านลิเภา). [Online].Retrieved August 27, 2014 from http://www.nakhonsithammarat.go.th/web_52/otop/view.php?No=1.
Nareelert, S. (2014). Thailand Evolution of Art (วิว ัฒนาการของศิลปะไทย). [Online].Retrieved August 5, 2014 from http://www.baanjomyut.com/library_2/extension-3/evolution_of_thai_art/16.html.
OTOP Today. (2014). Wickerwork (กลุ่มอาชีพจักสาน). [Online]. Retrieved September 3, 2014 from http://www.otoptoday.com/shop/150414-01\กลุ่มอาชีพจักสาน.
Patcharametha, T. (2009). A Product Development Through The Application of Lacquer Ware Production Process (การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยกรรมวิธีประยุกต์จากการทำเครื่องเขิน).Doctor of Philosophy’s dissertation,Ubon Ratchathani University, Ubonratchathani, Thailand.
Phanichphant, V. (2001). Lanna Lacquerware (ศิลปะเครื่องเขินล้านนา). Chiangmai:Mingmuangnawarat.
Public Relations Office Region 1 Khonkaen. (2013). Lygodium Wicker (เครื่องจักสานย่านลิเภา). [Online]. Retrieved August 27, 2014 from http://www.region1.prd.go.th/ewt_news.php?nid=2864&filename=indexProvin cialStarOTOP.
Sasiri, A. (2007). Dancing of Phu Tai Kalasin (ฟ้ อนภูไทกาฬสินธุ์). [Online].Retrieved September 1, 2014 from http://www.isan.clubs.chula.ac.th/folkdance/?transaction=kalsin01.php
Srisiri, T. (2014). A Kalasin Prae Wa Sink (ความเป็ นมาผ้าไหมแพรวากาฬสินธุ์). [Online]. Retrieved August 27, 2014 from http://www.livekalasin.com/ความเป็นมาผ้าไหมแพรวากาฬสินธุ์.
Suksikarn, R. (2008). The Unity in Diversity : Craft, Material and Design (ความเหมือนในความต่าง : หัตถกรรม วัสดุและการออกแบบ). [Online].Retrieved Mach 11, 2014 from http://www.1.finearts.cmu.ac.th/artarticle/article51002.php.
Supasorn, Y. (2012). Opportunity and Impact of OTOP with The AEC (โอกาสและผลกระทบของ OTOP กับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)). [Online]. Retrieved November 20, 2014 from http://www.sme.go.th/Lists/EditorInput/DispF.aspx?List=15dca7fb-bf2e-464e-97e5-440321040570&ID=1760.
Thai Junior Encyclopedia Project. (2014). Product Selection and Production for Export (การเลือกสินค้าและการผลิตเพื่อการส่งออก). [Online].Retrieved Mach 20, 2014 from http://www.kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=21&chap=6&page=t21-6-infodetail07.html.
The Royal Institute. (2003). Dictionary of The Royal Academy, 1999 (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542). Bangkok: Siriwattanainterprint.