กลอนแดง : วัจนกรรมบริภาษยอกย้อนในเพลงอีแซว (Red-Hot Lyrics: The Dialectical Speech Act of Reprimanding in E-Saew Songs)

Main Article Content

นาวาอากาศโท สมบัติ สมศรีพลอย Wg.Cdr. Sombat Somsriploy

Abstract

 “กลอนแดง” เป็นเอกลักษณ์ของขนบในการเล่นเพลงพื้นบ้านภาคกลางเพื่อสร้างความสนุกสนานให้แก่ผู้ชมผู้ฟัง เป็นปรากฏการณ์ทางสังคมในการใช้วัจนกรรมบริภาษโต้ตอบเชิงสังวาสอย่างถึงพริกถึงขิงของพ่อเพลงแม่เพลง โดยใช้วิธีการเดินกลอนย้อนเนื้อความ และยอกด้วยถ้อยคำที่กล่าวถึงอวัยวะเพศและเพศสัมพันธ์อย่างตรงไปตรงมา เพื่อให้ฝ่ายปฏิปักษ์เกิดความเจ็บใจและอับอาย อีกทั้งเป็นพื้นที่สาธารณะหรือช่องทางในการกล่าวถึงเรื่องเพศ ซึ่งเป็นเรื่องต้องห้ามหรือปกปิดของสังคมไทยได้อย่างอิสระโดยไม่มีใครถือสา ทำให้ผู้ร้องได้ปลดปล่อยแรงขับเคลื่อนสัญชาตญาณทางเพศที่เก็บกดหรือถูกจำกัด ในขณะที่ผู้ฟังก็รู้สึกสาแก่ใจกับถ้อยคำเรื่องราวที่แหวกกฎเกณฑ์จารีตของสังคมในเรื่องเพศเช่นเดียวกัน โดยมีจุดร่วมกันคือความบันเทิง บทความนี้มุ่งศึกษาเฉพาะเพลงอีแซวของจังหวัดสุพรรณบุรี เนื่องจากยังมีคณะเพลงอาชีพหลายคณะซึ่งแต่ละคณะก็ยังคงดำรงเอกลักษณ์การเล่นกลอนแดงที่ได้รับการถ่ายทอดจดจำจากครูเพลงรวมทั้งการใช้ปฏิภาณด้นสดในการแสดง


 


 

Article Details

Section
บทความประจำฉบับ

References

Ancient E-Saw Songs. [online]. retrieved February 14th, 2015 from https://www.youtube.com/watch?v=0dozotU_wME.

Boonma, L. professional folk song singer. Interview, January 17th, 2015.

Chawbangngam, S. professional folk song singer. Interview, January 17th, 2015.

Chawplaina, S. professional folk song singer. Interview, January 17th, 2015.

Jaisue, R. (2006). Speech Acts of Dissatisfaction in Thai: A Case Study of University Students (วัจนกรรมการแสดงความไม่พอใจในภาษาไทย : กรณีศึกษานิสิตนักศึกษา). M.A. thesis, Thai Language Program, Facultyof Arts, Chulalongkorn University.Dithiyon, V. (2014). Literary Art in Thai Souls (วรรณศิลป์ ในจิตวิญญาณไทย). Bangkok: Amarin Printing and Publishing.

Kasemsuk, L. stage name. (Lamjuan Suantang). professional folk song singer. Interview, January 17th, 2015.

Mangkut, P. professional folk song singer. Interview, January 17th, 2015.

Nathalang, S. (2009). Theories of Folklore: Methodology for Analyzing Folk Tales (ทฤษฎีคติชนวิทยา วิธีวิทยาในการวิเคราะห์ตำนาน-นิทานพื้นบ้าน). Bangkok: Chulalongkorn University.

Navikamul, A. (1982-1983). Supanburi’s Folk Songs (เพลงพื้นบ้านสุพรรณบุรี).Muang Boran, 9(1-3): 61-64

Navikamul, A. (1984). Songs in the Past Century (เพลงนอกศตวรรษ) (3rd ed.). Bangkok: Muang-Boran


Office of the Royal Society. (2003). 2542 B.E. Edition of Thai-Thai Dictionary
(พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542). Bangkok: NanmeeBooks Publications.

Panomsuk, K. (2006). An Analysis of Metaphors in Pornographic Scenes in Thai Literature (การวิเคราะห์เปรียบเทียบอุปลักษณ์ในบทอัศจรรย์ของวรรณกรรมไทย). M.A. thesis, Linguistics for Communication Program, Faculty of Liberal Arts, Thammasat University.

Pattrachai, S. (1997). Patipak Songs: Songs of Wisdom of Thai Commoners (เพลงปฏิพากย์ :บทเพลงแห่งปฏิภาณของชาวบ้านไทย). Bangkok: ChulalongkornUniversity)

Ruangdej, S. (1983). Folk Songs (เพลงพื้นบ้าน). Watanatam Thai, 22(1-12): 41-46

Setkij, K. stage name. (Kwanjit Sriprajan). professional folk song singer. Interview,January 17th, 2015

Sujachaya, S. (2000). Folk Song Studies (เพลงพื้นบ้านศึกษา). Bangkok:Chulalongkorn University.

Sukwisit, W. (2004). Speech Acts of Reprimanding in Thai (วัจนกรรมบริภาษในภาษาไทย). M.A. thesis, Thai Language Program, Faculty of Arts, Chulalongkorn University.

Supannayot, B. (2014). “Folk Songs in Central Thailand” in Folk Song Camp: The Project Folk Songs in Central Thailand (เอกสารประกอบการเข้าค่าย เพาะกล้าพันธ์เก่งเพลงพื้นบ้าน โครงการเพลงพื้นบ้านภาคกลาง), July 15-21, 2014, Kwanjit Sripajan National Artist’s House, Supanburi.

Supannayot, B. (2005). “Sex Education in Thai Folk Songs” in Pasa Song Sangkom Wannakadi Song Chiwit: The Project “Plook Dok Khem Hai Tem Lan” (ภาษาส่องสังคม วรรณคดีส่องชีวิต โครงการปลูกดอกเข็มให้เต็มลาน 25 ปี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย). In the occasion of 25th Anniversary, Faculty of Humanities, University of The Thai Chamber of Commerce. May 12-13, 2005.

Tianjam, W. Stage name. (Nok-iang Siangtong). professional folk song singer. Interview, January 17th, 2015.

Tosakul, R. (2005). Concepts of Power (มโนทัศน์เรื่องอำนาจ). Bangkok: NationalResearch Council of Thailand.

Wanrakakij, B. professional folk song singer. Interview, January 17th, 2015.

Wongthes, P. (2001). Gender and Culture (เพศและวัฒนธรรม) (2nd ed.). Bangkok: Silpawatanatam.