การศึกษาคุณลักษณะของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (A study of characteristics of pre-service students in the social studies program, Faculty of Education, Silpakorn University)

Main Article Content

เพ็ญพนอ พ่วงแพ (Phenphanor Phuangphae)
อนงค์พร สมานชาติ (Anongporn Smanchat)
กัลยา เทียนวงศ์ (Kanlaya Tieanwong)

Abstract

การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ศึกษาคุณลักษณะของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และ 2) ศึกษาความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู สาขาวิชาสังคมศึกษา กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยคือ อาจารย์พี่เลี้ยงของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู สาขาวิชาสังคมศึกษา จำนวน 36 คน และผู้ใช้บัณฑิตในสาขาสังคมศึกษา จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย (gif.latex?\bar{X}) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis)    


ผลการวิจัยพบว่า (1) คุณลักษณะของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย 4.44 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.59 ซึ่งเมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ผู้ใช้นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูมีความพึงพอใจด้านความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย 4.50 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.56 รองลงมาคือ ด้านผลงานของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูซึ่งอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย 4.45 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.57 และด้านทักษะที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานซึ่งอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย 4.43 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.62 ส่วนอันดับสุดท้ายคือ ด้านคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ ซึ่งอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย 4.38 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.60 (2) ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู สาขาวิชาสังคมศึกษา พบว่า คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรควรพัฒนานักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูให้มีประสบการณ์ที่หลากหลาย เช่น ด้านความสามารถในการจัดการเรียนรู้ ด้านการใช้ภาษาอังกฤษ ด้านการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ ด้านคุณธรรมจริยธรรม และด้านการทำงานเป็นทีม


This survey research’s objectives includes: (1) to study the characteristics of pre-service students in the Social Studies Program, Faculty of Education, Silpakorn University, and (2) to analyze related stakeholders’ opinions and suggestions for pre-service students in the social studies program. The subjects were 36 school supervisors and 5 employers. The instruments used to collect data were interviews and questionnaires. The descriptive statistics including percentage (%), mean (gif.latex?\bar{X}), standard deviation (S.D.), and content analysis were applied in this analyses.


The findings revealed that (1) the characteristics of pre-service students in the Social Studies Programs, Faculty of Education, Silpakorn University was at a high level with the mean score of 4.44 and the standard deviation of 0.59. When data were classified in each dimension, it was found that employers’ satisfaction with pre-service students’ ability and knowledge in practice was at the highest level  (gif.latex?\bar{X} = 4.50, S.D. = 0.56). The assessment of pre-service students’ works was at the high level (gif.latex?\bar{X} = 4.45, S.D. = 0.57). The assessment of pre-service students’ professional skills was at a high level (gif.latex?\bar{X} = 4.43, S.D. = 0.62). The assessment of pre-service students’ virtue, morality and ethics was also at a high level (gif.latex?\bar{X} = 4.38, S.D. = 0.60).


(2) The opinions and suggestions based on the stakeholders were that Faculty of Education, Silpakorn University should develop pre-service students’ professional training in a variety of skills, such as the ability to manage learning, proficiency in English, skills in using new technologies, morals and ethics, and good teamwork skills.

Article Details

Section
บทความประจำฉบับ

References

Amonvivat, Sumon. (2011). Education and the Challenge of Change (ครุศึกษากับความเปลี่ยนแปลงที่ท้าทาย). Bangkok: Faculty of Education, Chulalongkorn University.

Chittmittrapap, Sutthiporn. (2010). Global Changes on Learning in 21 Century: Development of Professional Teachers (การเปลี่ยนแปลงโลกของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาสู่ “ครูมืออาชีพ”). Bangkok: The Higher Education Commission.

Department of Curriculum and Instruction. (2016). Manual of Field Experiences (คู่มือการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ). Nakhon Pathom: Faculty of Education, Silpakorn University.

Faculty of Education, Silpakorn University. (2015). Teacher Handbook (คู่มืออาจารย์). Nakhon Pathom: Faculty of Education, Silpakorn University.

Homfung, Chonticha., Ruamsuk, Somporn., Natha, Nattakit., Kamnuengphon, Rojana., Panyajirawut, Wanwisa. & Puangphong, Pairin. (2016). Evaluation of Bachelor of Education program in Thai Language. Nakhon Pathom: Faculty of Education, Silpakorn University (การประเมินหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร). Veridian E-Journal, 9(3): 408-420

Hnuplong, Khwanta., Meebua, Sudawan. & Nillakan, Lunjakon. (2018). The Study of Desired Characteristics of Graduates from Creative Cultural Management Program, Nakhon Si Thammarat Rajabhat University. (การศึกษาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบัณฑิต สาขาการจัดการวัฒนธรรมสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช). Narkbhut Paritat Journal, 10(Special Issue): 189-200.

Koehler, M. J. & Mishra, (2008). Introducing TPACK. In Handbook of technology pedagogical content knowledge for educators, edited by The AACTE Committee on Innovation & Technology, pp. 3-29. New York: Routledge.

Lowriendee, Watchara. & Mongkol, Prasert. (2002). A study of supervisory behaviors of the university supervisors, and the implementation of supervisory behaviors to train the 4th year pre-service teachers in teaching practicum experiences, Faculty of Education, Silpakorn University. (การศึกษาพฤติกรรมการนิเทศการสอนของอาจารย์นิเทศและการนำพฤติกรรมการนิเทศไปใช้ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร). Nakhon Pathom: Faculty of Education. Silpakorn University.

Office of Quality Assurance in Education, Silpakorn University. (2015). The handbook of report writing of the internal educational quality assurance in the curriculum level, Silpakorn University (คู่มือการเขียนรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร มหาวิทยาลัยศิลปากร). Nakhon Pathom: Silpakorn University.

Office of the Higher Education Commission. (2009). Thai Qualifications Framework for Higher Education (TQF) 2552 (กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552). Bangkok: Office of the Higher Education Commission.

Olasehinde, M. O. (2015). An Evaluation of the English Component of the General Studies Curriculum for Nigerian Polytechnics. English Language and Literature Studies, 5(2): 123-135.

Punchatree, Nuttamon. (2016). The Enhance of Teacher Characteristics of the student of the Faculty of Education, Rajabhat University (การเสริมสร้างคุณลักษณะความเป็นครูของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ). Nakhon Pathom: Faculty of Education, Silpakorn University.

Pandee, Sujitra. & Uamcharoen, Suthep. (2016). Development of constructionist learning Model to promote Creativity for teacher college students (การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้สร้างสรรค์ด้วยปัญญา เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาครู). Veridian E-Journal, 9(3): 1382-1398.

The Teachers Council of Thailand. (2008). Meaning of Educational Professionalism. [Online]. Retrieved March 7, 2017 from http://education.dusit.ac.tha/QA/articles/doc02.pdf

Tungkapipop, Nikom. (2000). The development of Professional field Experience, Faculty of Education. Silpakorn University (การพัฒนารูปแบบการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูภาคสนาม คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร). Nakhon Pathom: Silpakorn University.

Tuptimmunag, Manop. (2008). A study of satisfaction of school administers, mentor teachers and university supervisors towards student teachers in the Faculty of Education, Silpakorn University. (รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารสถานศึกษา อาจารย์พี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศที่มีต่อนักศึกษาฝึกสอน ของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร). Nakhon Pathom: Faculty Education, Silpakorn University.

Yunyaow, Pichayapa. (2014). Contexts and Concepts of Thai educational management (บริบทและแนวคิดการจัดการศึกษาไทย). Nakhon Pathom: Nakhon Pathom Rajabhat University.