ระบบการคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่: มุมมองเชิงกฎหมายเปรียบเทียบ
คำสำคัญ:
กฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืช, คุ้มครองพันธุ์พืชในประเทศไทย, อนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ (UPOV 1991), ประเทศไทยบทคัดย่อ
พันธุ์พืชเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ส าคัญที่รัฐต้องให้การคุ้มครอง รัฐจ านวนมากตระหนักถึง ความจ าเป็นดังกล่าวมานานหลายสิบปีแล้ว ในยุคแรก ลักษณะของการคุ้มครองเป็นแบบต่างคนต่าง ท าเพื่อป้องกันการคุกคามจากรัฐอื่น รัฐที่เห็นคุณค่าและความจ าเป็นของการคุ้มครองพันธุ์พืชก่อน ก็เริ่มมีกฎหมายภายในก่อน เป็นผลให้ความก้าวหน้าทางกฎหมายในเรื่องแตกต่างกันอย่างมาก ต่อมาจึงเริ่มมีความตกลงระหว่างประเทศเพื่อคุ้มครองพันธุ์พืชอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งการศึกษาระบบ การคุ้มครองพันธุ์พืชของประเทศต่าง ๆ รวมถึงกฎหมายระหว่างประเทศจึงจ าเป็นอย่างยิ่งต่อ ประเทศไทยในการตัดสินใจว่าจะด าเนินการปรับปรุงกฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืชที่มีอยู่แล้วให้เป็นไป ในทิศทางใด ทั้งนี้ โดยค านึงถึงประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก
Downloads
เผยแพร่แล้ว
License
ผลงานที่ตีพิมพ์ในวารสารนิติศาสตร์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และวารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สงวนสิทธิในการเผยแพร่ผลงานที่ตีพิมพ์ในแบบรูปเล่มและทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นใด
บทความหรือข้อความคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารนิติศาสตร์เป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนโดยเฉพาะ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และบรรณาธิการไม่จําเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ