การพิจารณาวินิจฉัยคดีของศาลรัฐธรรมนูญตามบทบัญญัติมาตรา 144 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
คำสำคัญ:
มาตรา 144 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย, การแปรญัตติ, ศาลรัฐธรรมนูญบทคัดย่อ
มาตรา 144 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กำหนดห้ามมิให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแปรญัตติเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขเพิ่มเติมรายการหรือจำนวนในรายการในร่างกฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่าย และห้ามมิให้มีการเสนอ การแปรญัตติ หรือการกระทำด้วยประการใด ๆ ที่มีผลให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือกรรมาธิการวิสามัญที่พิจารณาร่างกฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่ายมีส่วนไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในการใช้งบประมาณรายจ่าย รวมทั้งได้กำหนดมาตรการในการลงโทษผู้ฝ่าฝืนบทบัญญัติและมาตรการในการเยียวยาความเสียหายแก่รัฐไว้ โดยให้ศาลรัฐธรรมนูญเป็นผู้พิจารณาวินิจฉัยคดี บทบัญญัติดังกล่าวก่อให้เกิดประเด็นปัญหาทางกฎหมายบางประการ ได้แก่ ปัญหาการตีความถ้อยคำตามมาตรา 144 วรรคสอง และปัญหาการปรับใช้บทบัญญัติตามมาตรา 144 วรรคสามถึงวรรคหก บทความนี้จึงได้ศึกษาหลักกฎหมายการคลังและกฎหมายต่างประเทศที่เกี่ยวข้อง และเสนอให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติมาตรา 144 ของรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน โดยกลับไปใช้หลักการตามมาตรา 180 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และมาตรา 168 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ซึ่งเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมที่สุด
References
หนังสือ
ภาษาไทย
กำชัย จงจักรพันธ์, การขัดกันแห่งผลประโยชน์กับ พ.ร.บ. ป.ป.ช. มาตรา 100 (พิมพ์ครั้งที่ 4, เจริญรัฐการพิมพ์ 2558).
ธีระ สุธีวรางกูร, ระบบศาลและการพิจารณาคดีของศาลในทางกฎหมายมหาชน (พิมพ์ครั้งที่ 2, โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2563).
วรเจตน์ ภาคีรัตน์, คำสอนว่าด้วยรัฐและหลักกฎหมายมหาชน (พิมพ์ครั้งที่ 3, สำนักพิมพ์อ่านกฎหมาย 2564).
ศุภลักษณ์ พินิจภูวดล, กฎหมายภาษีอากร (พิมพ์ครั้งที่ 5, สำนักพิมพ์วิญญูชน 2563).
สุปรียา แก้วละเอียด, กฎหมายการคลัง: ภาคงบประมาณแผ่นดิน (สำนักพิมพ์วิญญูชน 2563).
_______, กฎหมายงบประมาณของต่างประเทศ: ข้อคิดและประสบการณ์ของประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศฝรั่งเศส (โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2560).
โสภณ รัตนากร, คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หนี้ (พิมพ์ครั้งที่ 9, นิติบรรณาการ 2551).
อรพิน ผลสุวรรณ์ สบายรูป, กฎหมายการคลัง (พิมพ์ครั้งที่ 3, โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ 2557).
เอื้ออารีย์ อิ้งจะนิล, กฎหมายการคลัง (สำนักพิมพ์วิญญูชน 2558).
ภาษาต่างประเทศ
Jean-Luc Albert, Finances publiques (Coll. Cours Dalloz, 10éd., Dalloz 2017).
Louis Favoreu et autres, Droit constitutionnel (Coll. Précis, 18éd., Dalloz 2015).
บทความ
ภาษาไทย
นิพนธ์ โลหะกุลวิช, ‘ประวัติความเป็นมาและสาระสำคัญของหลักการห้ามฝ่ายนิติบัญญัติในการริเริ่มกำหนดรายจ่ายแผ่นดินในสหราชอาณาจักร’ (2539) 1 วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 29.
เพลินตา ตันรังสรรค์, ‘กฎหมายภายใต้หลัก Conflict of Interest’ (2552) 5 จุลนิติ 53.
สุปรียา แก้วละเอียด, ‘การควบคุมความชอบด้วยกฎหมายของภาษีโดยองค์กรตุลาการในประเทศไทย’ (2558) 4 วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 838.
ภาษาต่างประเทศ
Leïla Chikhaoui-Mahdaoui, ‘Le rôle de l’instance provisoire de contrôle de la constitutionnalité des projets de loi en période de transition’ (2019) 1 Revue Juridique des étudiants de la Sorbonne 39.
Lisa von Trapp, Ian Lienert and Joachim Wehner, ‘Principles for independent fiscal institutions and case studies’ (2016) 2 OECD Journal on budgeting 1 <https://doi.org/10.1787/budget-15-5jm2795tv625> สืบค้นเมื่อ 28 ตุลาคม 2564.
Luis Nunes de Almeida, ‘Le Tribunal constitutionnel portugais’ ใน Louis Favoreu (ed) Annuaire international de justice constitutionnelle 3-1987 – La liberté de l’information (Economica – Presses Universitaires d’Aix-Marseille 1989).
Marie-Christine Meininger, ‘Le Tribunal constitutionnel du Portugal’ (2010) 29 Les Nouveaux Cahiers du Conseil constitutionnel 273.
Olivier Le Bot, ‘Contrôles de constitutionnalité a priori et a posteriori en Europe’ (2013) 40 Les Nouveaux Cahiers du Conseil Constitutionnel 117.
Salwa Hamrouni et autres, ‘Tunisie’ ใน Xavier Magnon (ed) Annuaire international de justice constitutionnelle 34-2018 Égalité, genre et constitution – Populalisme et démocratie (Economica – Presse Universitaire d’Aix-Marseille 2019).
Salwa Hamrouni, Mouna Tabei et Ahmed Houssein Abbassi, ‘Tunisie’ ใน Xavier Magnon (ed) Annuaire international de justice constitutionnelle 33-2017 Juge constitutionnel et interprétation des normes – Le juge constitutionnel face aux transformations de la démocratie (Economica – Presses Universitaires d’Aix-Marseille 2018).
Vital Moreira, ‘Le Tribunal constitutionnel portugais : le « contrôle concret » dans le cadre d’un système mixte de justice constitutionnel’ (2001) 10 Les Cahiers du Conseil constitutionnel <https://www.conseil-constitutionnel.fr/nouveaux-cahiers-du-conseil-constitutionnel/le-tribunal-constitutionnel-portugais-le-controle-concret-dans-le-cadre-d-un-systeme-mixte -de> สืบค้นเมื่อ 21 ตุลาคม 2564.
เอกสารอื่น ๆ
ภาษาไทย
ธนิตา สุขช่วย, ‘หลักการขัดกันแห่งผลประโยชน์ตามรัฐธรรมนูญ: ศึกษากรณีข้อห้ามสมาชิกรัฐสภาเข้าเป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทที่ต้องห้าม’ (วิทยานิพนธ์ นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย-ธรรมศาสตร์ 2560).
นิพนธ์ โลหะกุลวิช, ‘หลักการห้ามฝ่ายนิติบัญญัติริเริ่มกำหนดรายจ่ายแผ่นดิน’ (วิทยานิพนธ์ นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2539).
ยงยุทธ ภู่ประดับกฤต, ‘การเสนอและการพิจารณาร่างกฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่ายและร่างกฎหมายเกี่ยวด้วยการเงินในระบบกฎหมายไทย’ (วิทยานิพนธ์ นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2555).
สมคิด เลิศไพฑูรย์, ‘งบพัฒนาจังหวัดของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร’ (รายงานผลการวิจัยเสนอต่อสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร 2541).
หนังสือคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ด่วนที่สุด ที่ (รธน.) 546/2560 เรื่อง ความมุ่งหมายของมาตรา 144 วรรคสองของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (8 มิถุนายน 2560).
ภาษาต่างประเทศ
Etienne Douat, ‘Droit constitutionnel financier’, JurisClasseur Administratif (Fasc.1461, 2014).
OECD, OECD Review of Budgeting in Portugal 2008 50-51 <https://www.oecd.org/portugal/42007470.pdf> สืบค้นเมื่อ 28 ตุลาคม 2564.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
License
Copyright (c) 2022 วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ผลงานที่ตีพิมพ์ในวารสารนิติศาสตร์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และวารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สงวนสิทธิในการเผยแพร่ผลงานที่ตีพิมพ์ในแบบรูปเล่มและทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นใด
บทความหรือข้อความคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารนิติศาสตร์เป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนโดยเฉพาะ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และบรรณาธิการไม่จําเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ