ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายที่อนุญาตให้ยุติชีวิตผู้ป่วย

ผู้แต่ง

  • พิสิษฐ์ ศรีอัคคโภคิน สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ

คำสำคัญ:

การอนุญาตให้ยุติชีวิตผู้ป่วย, การุณยฆาต, กำรดูแลแบบประคับประคอง

บทคัดย่อ

การอนุญาตให้ยุติชีวิตผู้ป่วยเป็นประเด็นที่ซับซ้อนเนื่องจากจะเกี่ยวข้องกับแนวคิดของเรื่องความตาย สิทธิมนุษชน ระบบกฎหมาย รวมทั้งความพร้อมของสังคมและระบบริการสุขภาพของประเทศนั้นที่อนุญาตให้ดำเนินการได้ สำหรับในประเทศไทยเรื่องการอนุญาตให้ยุติชีวิตผู้ป่วยเป็นสิ่งที่ผิดกฎหมายและผิดจริยธรรมทางการแพทย์ เท่าที่ผ่านมามีความสับสนเรื่องการอนุญาตยุติชีวิตผู้ป่วยกับเรื่องการดูแลแบบประคับประคอง เรื่องการทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขและเรื่องการยับยั้งการรักษาหรือการถอดถอนการรักษาเพื่อพยุงชีพผู้ป่วย ดังนั้นจึงควรศึกษากฎหมายและแนวทางการปฏิบัติของต่างประเทศเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวเพื่อเป็นแนวทางในการใช้และการตีความกฎหมายการแพทย์ของไทย และเพื่อคาดการณ์ ตลอดจนเตรียมความพร้อมในทางนิตินโยบายของรัฐไทยในเรื่องการการอนุญาตให้ยุติชีวิตผู้ป่วยในประเทศไทยต่อไป

References

‘หนุ่มไทยทำการุณยฆาต หลังป่วยเนื้องอกในสมอง 10 ปี ผ่าตัด 3 ครั้งไม่หาย’ Workpoint TODAY (2 มีนาคม 2562) < https://zhort.link/K6P> สืบค้นเมื่อ 17 เมษายน 2565

‘บันทึกของคุณก๊อป ผู้เลือกจบชีวิตตัวเองด้วยวิธีการุณยฆาต’ komchadluekonline (5 มีนาคม 2562) <https://www.komchadluek.net/news/hotclip/364593> สืบค้นเมื่อ 17 เมษายน 2565

‘นักวิทย์ออสซี่ วัย 104 ปี เตรียมรับการุณยฆาตวันนี้’ Post today (10 พฤษภาคม 2561) <https://www.posttoday.com/world/550795> สืบค้นเมื่อ 17 เมษายน 2565

ชุติกาญจน์ หฤทัย, ‘การุณยฆาต สิทธิการตาย และการพยาบาลในวาระสุดท้ายแห่งชีวิต’ (2554) 2 วารสารกองการพยาบาล 1 <https://kmnurse.files.wordpress.com/2011/12/journal38v2.pdf> สืบค้นเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2565

วราทิพย์ ทองเดช และคณะ, ‘วิสัญญีกับการการุณยฆาต : ความเหมือนที่แตกต่าง’ (2563) วิสัญญีสาร 182-183 <https://he02.tci-thaijo.org/index.php/anesthai/article/download/246785/167770> สืบค้นเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2565

Dixie L. Dennis, ‘Living, Dying, Grieving ,Bioethics, Euthanasia, and Physician-Assisted Suicide’ (2018) <http://www.jblearning.com/samples/0763743267/43267_CH05_Pass1.pdf> accessed 20 April 2022

ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 137 ตอนพิเศษ 261 ง วันที่ 6 พฤศจิกายน 2563

‘Death with Dignity around the US.’ Death with Dignity <https://deathwithdignity.org/history/> accessed 22 April 2022

‘Death with Dignity Act’ Oregon Health Authority, (2018) <https://www.oregon.gov/oha/ph/ProviderPartnerResources/EvaluationResearch/DeathwithDignityAct/Pages/ors.aspx> accessed 23 April 2022

‘Medical assistance in dying’ Government of Canada (2021) <https://www.canada.ca/en/health-canada/services/medical-assistance-dying.html> accessed 23 April 2022

‘End-of-Life Law and Policy in Canada’ Health Law Institute Dalhousie University <http://eol.law.dal.ca/?page_id=238> accessed 24 April 2022

Sjef Gevers ‘Euthanasia: law and practice in The Netherlands’(1996) <https://academic.oup.com/bmb/article-pdf/52/2/326/1126795/52-2-326.pdf> accessed 23 April 2022

‘Dutch law on Termination of life on request and assisted suicide’<https://wfrtds.org/dutch-law-on-termination-of-life-on-request-and-assisted-suicide-complete-text/> accessed 23 April 2022

R Cohen-Almagor, ‘Belgian euthanasia law: a critical analysis’<https://jme.bmj.com/content/35/7/436.full> accessed 23 April 2022

Samia A Hurst and Alex Mauron,‘Assisted suicide and euthanasia in Switzerland: allowing a role for non-physicians’(2003) <https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1125125/>accessed 23 April 2022

Amelia Gentleman,‘Inside the Dignitas house’ The guardian (2009) <https://www.theguardian.com/society/2009/nov/18/assisted-suicide-dignitas-house> accessed 24 April 2022

DIGNITAS, ‘Brochure of DIGNITAS’ <http://www.dignitas.ch/index.php?option=com_content&view=article&id=22&Itemid=5&lang=en> accessed 24 April 2022

‘Information on requesting euthanasia or assisted suicide’

<https://guichet.public.lu/en/citoyens/famille/euthanasie-soins-palliatifs/fin-de-vie/euthanasie-assistance-suicide.html> accessed 24 April 2022

World Medical Association, ‘World Medical Association Resolution on Euthanasia’ (2019) https://www.wma.net/policies-post/wma-resolution-on-euthanasia/> accessed 24 April 2022

“วินิจฉัยโรค” คือบอกว่า “เป็นโรคอะไร” การวินิจฉัยโรคเกิดจากการซักประวัติ ตรวจร่างกาย การ X-ray ตรวจทางห้องปฏิบัติการ ฯลฯ แล้วนำข้อมูลมาประมวลเข้ากันเป็นการวินิจฉัยโรคและในบางโรคจะมีเกณฑ์มาตรฐานในการวินิจฉัยที่เรียกว่า Criteria of diagnosis ซึ่งประกอบด้วยอาการแสดงของโรคถ้าผู้ป่วยมีเกณฑ์ครบตามที่กำหนดก็จะได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคนั้น

“พยากรณ์โรค” คือการบอกว่าผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้จะหายเมื่อใดหรือจะมีชีวิตอยู่ได้นานแค่ไหน การพยากรณ์โรคเกิดจากหลักสถิติ การวิจัยและสังเกตโรคหรือสภาวะหนึ่งจำนวนมากและนานพอ จนทำให้พอจะเข้าใจการดำเนินไปของโรคตลอดจนความเปลี่ยนแปลงไปของสภาพร่างกายผู้ป่วย การพยากรณ์โรคจึงมีความคลาดเคลื่อนและเบี่ยงเบนได้เสมอตามสภาพร่างกายตลอดจนการดำเนินของโรคในผู้ป่วยแต่ละราย โดยการพยากรณ์โรคเป็นขั้นตอนถัดจากการวินิจฉัยโรค

Pallipedia, ‘Definition of Palliative Care’< https://pallipedia.org/palliative-care-1990-and-2002-who-definitions/> Accessed 24 April 2022

World Medical Association, ‘Statement on Advance directives(“Living will”)’(2017) <https://www.wma.net/policies-post/wma-statement-on-advance-directives-living-wills/> Accessed 25 April 2022

Luis Kutner, ‘Due Process of Euthanasia: The Living Will, a Proposal’(1969) <https://www.repository.law.indiana.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=2525&context=ilj> Accessed 25 April 2022

กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการตามหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิต หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วย พ.ศ. 2553

ประกาศสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง แนวทางการปฏิบัติงานของสถานบริการสาธารณสุข ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ของสถานบริการสาธารณสุขตามกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการตามหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิต หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วย พ.ศ. 2553

ชนินทร์ ลิ่มวงศ์, ‘Withhold-withdraw of life support measures at the end of life’ ใน แสวง บุญเฉลิมวิภาสและคณะ(บรรณาธิการ) สรุปการสัมมนาวิชาการไม่ใส่เครื่อง ถอดเครื่องช่วยหายใจ ทำได้เพียงใด ในระยะท้ายของชีวิต

<https://infocenter.nationalhealth.or.th/Ebook/seminer/book.html> สืบค้นเมื่อ 25 เมษายน 2565

ดุสิต สถาวร, ‘End-of-life care in the PICU’ ใน จิตลัดดา ดีโรจนวงศ์, ดุสิต สถาวร และนวลจันทร์ ปราบพาล(บรรณาธิการ) New Insight in Pediatric Critical Care 2003 (2003), <http://thaipedlung.org/book/46_PDF%20New_Insight_46/25End-of-Life%20Care.pdf> สืบค้นเมื่อ 26 เมษายน 2565

ศรีเวียง ไพโรจน์กุล, ‘หลักจริยธรรมกับการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย’ <https://www.slideshare.net/joiesansuk/pc09-ethics-and-law-in-eol-and-pall-sedation> สืบค้นเมื่อ 25 เมษายน 2565

The Netherlands Ministry of Foreign Affairs, ‘FAQ Euthanasia 2010’ <http://www.patientsrightscouncil.org/site/wp-content/uploads/2012/03/Netherlands_Ministry_of_Justice_FAQ_Euthanasia_2010.pdf> Accessed 26 April 2022

Richaed J. Ackermann, ‘Withholding and Withdrawing Life-Sustaining Treatment’(2000) <https://www.aafp.org/afp/2000/1001/p1555.html> accessed 26 April 2022

American Medical Association, ‘Withholding or Withdrawing LifeSustaining Treatment’ <https://www.ama-assn.org/delivering-care/withholding-or-withdrawing-life-sustaining-treatment> Accessed 26 April 2022

The Australian Medical Association, ‘AMA Code of Ethics 2004’ (2018) <https://www.ama.com.au/sites/default/files/2021-02/AMA_Code_of_Ethics_2004._Editorially_Revised_2006._Revised_2016_0.pdf> 27 April 2022> accessed Accessed 26 April 2022

Government of Canada, ‘Advance care planning: the Glossary project’ (2006) <https://www.canada.ca/en/health-canada/services/health-care-system/reports-publications/palliative-care/advance-care-planning-glossary-project-final-report.html> accessed 26 April 2022

India Cousin of Medical Research, ‘Definition of terms used in limitation of treatment and providing palliative care at end of life’ (2018) <https://main.icmr.nic.in/sites/default/files/Books/Definition_of_terms_used_in_limitation_of_treatment_and_providing_palliative_care_at_end_of_life.pdf> accessed 26 April 2022

College of Physicians Academic of Medicine Malaysia, ‘Handbook OF Palliative Medicine in Malaysia’ (2018) <http://www.acadmed.org.my/view_file.cfm?fileid=710> accessed 26 April 2022

” Puteri Nemie Jahn Kassim and Fadhlina Alias, ‘End-of-life decisions in Malaysia: Adequacies of Ethical Codes and Developing Legal Standards’ (2018) <https://www.researchgate.net/publication/280562104_End-of-life_decisions_in_Malaysia_Adequacies_of_Ethical_Codes_and_Developing_Legal_Standards> accessed 25 April 2022

ฤชุตา โมเหล็ก และคณะ, มอร์ฟีนเป็นยาเพื่อการการุณยฆาตจริงหรือ, <https://he02.tci-thaijo.org/index.php/jcra/article/download/224953/163599/822946> เข้าถึงเมื่อ 24 เมษายน 2565

อิศรางค์ นุชประยูรและอุกฤษฏ์ มิลินทางกูร, การดูแลแบบประคับประคอง : ทางเลือกที่ดีกว่าการุณยฆาต, <http://kbphpp.nationalhealth.or.th/handle/123456789/21321?locale-attribute=th> เข้าถึงเมื่อ 24 เมษายน 2565

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-27