ความมั่นคงของราชบัลลังก์อังกฤษผ่านกฎหมายว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์
คำสำคัญ:
สถาบันพระมหากษัตริย์, รัฐธรรมนูญเปรียบเทียบ, รัฐธรรมนูญอังกฤษ, การสืบราชสันตติวงศ์บทคัดย่อ
วันที่ 8 กันยายน 2022 มีการเปลี่ยนแปลงในอังกฤษเนื่องจากสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จสวรรคตหลังจากอยู่ในราชสมบัตินานถึง 70 ปี โดยช่วงเวลาการเปลี่ยนผ่านก็เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและต่อเนื่อง พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 3 ได้รับการประกาศเป็นพระมหากษัตริย์ทันที ถือเป็นตัวบ่งชี้ถึงความมั่นคงของสถาบันพระมหากษัตริย์ของอังกฤษได้เป็นอย่างดี นอกเหนือจากการที่พระมหากษัตริย์หรือสมเด็จพระราชินีนาถทรงวางตนในระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภาได้อย่างเหมาะสมและสง่างาม ส่วนหนึ่งเป็นเพราะอังกฤษมีกฎหมายว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ที่แน่นอน จึงทำให้ราชบัลลังก์อังกฤษสถิตย์อยู่อย่างสถาพรมาจนถึงปัจจุบัน บทความฉบับนี้จะเขียนถึงข้อความคิดเกี่ยวกับการสืบราชสันตติวงศ์ในภาพรวมแล้วจึงชี้ให้เห็นภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ บริบททางการเมือง อันนำมาซึ่งการเกิดขึ้นของกฎหมายว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ของอังกฤษ รวมทั้งสรุปหลักการและสาระสำคัญที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ของราชบัลลังก์อังกฤษ พร้อมทั้งเปรียบเทียบหลักเกณฑ์การสืบราชสันตติวงศ์กับรัฐราชอาณาจักรและอดีตราชอาณาจักรในยุโรปและบางประเทศในเอเชีย รวมทั้งไทยด้วย
References
เอกสารตำรา
ภาษาไทย
กุลลดา เกษบุญชู มี้ด, วิวัฒนาการรัฐอังกฤษ ฝรั่งเศส ในกระแสเศรษฐกิจโลก จากระบบฟิวดัลถึงการปฏิวัติ (ฟ้าเดียวกัน 2561).
โกเมศ ขวัญเมือง, กฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองของสหราชอาณาจักร (วิญญูชน 2564).
เจษฎา พรไชยา, พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ของประเทศไทยกับประเทศอังกฤษ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546).
แจ็ก ฮาร์วีย์, การเมืองและการปกครองของอังกฤษ (คณิน บุญสุวรรณ ผู้แปล, สำนักคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2523).
น้ำเงิน บุญเปี่ยม, ประวัติศาสตร์ยุโรปต้นยุคใหม่ ค.ศ. 1450-1789 (มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2541).
บวรศักดิ์ อุวรรณโน, คำอธิบาย วิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ (มานิตย์ จุมปา ผู้แก้ไขเพิ่มเติม, พิมพ์ครั้งที่ 4, เนติบัณฑิตยสภา 2563).
บุญศรี มีวงศ์อุโฆษ, กฎหมายมหาชนเบื้องต้น (โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2555).
ปัญญา วิวัฒนานันท์, ไอบีเรีย ประวัติศาสตร์สเปนและโปรตุเกส (ยิปซี, 2559).
ไพโรจน์ ชัยนาม, คำอธิบาย กฎหมายรัฐธรรมนูญเปรียบเทียบ เล่ม 1 ข้อความเบื้องต้นและหลักทั่วไปของกฎหมายรัฐธรรมนูญ (พิมพ์ครั้งที่ 2, โรงพิมพ์พาณิชย์ศุภผล 2495).
วิษณุ เครืองาม, กฎหมายรัฐธรรมนูญ (พิมพ์ครั้งที่ 3, นิติบรรณการ 2530).
สายหยุด แสงอุทัย, วิชาการเมือง เล่ม 2 (มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง 2482).
สุปราณี มุขวิชิต, ประวัติศาสตร์อังกฤษและราชวงศ์ (โอเดียนสโตร์ 2549).
อนันต์ชัย เลาหะพันธุ, กษัตริย์และราชวงศ์ในยุโรปยุคกลาง (ยิปซี 2557).
อนันต์ชัย เลาหะพันธุ และ สัญชัย สุวังบุตร, รัสเซียสมัยซาร์และสังคมนิยม (ศรีปัญญา 2557).
ภาษาอังกฤษ
Alfred Bailey, The Succession of The English Crown (Macmillan and Co. 1879).
Ana Maria SA Rodrigues, Manuela Santos Silva and Jonathan W Spangler, Dynastic change: Legitimacy and Gender in Medieval and Early Modern Monarchy (Routledge 2020).
Anna Whitelock, Mary Tudor: England's First Queen (Bloomsbury 2009).
C Warren Hollister, Henry I (Amanda Clark Frost ed, Yale University Press 2003).
David Starkey, Crown and Country: A History of England Through the Monarchy Crown & country (Harper Collins Publishers 2010).
Diane Gimpel, Monarchies (Essential Library 2011).
Edward Crankshaw, Maria Theresa (Longman Publishers 1969).
Eric R Delderfield, King & Queen of England (Stein and Day 1982).
Frank Barlow, The Feudal Kingdom of England, 1042–1216 (5th edn, Pearson Education, 1999).
Heidi Mehrkens and Frank Lorenz Müller, Sons and Heirs: Succession and Political Culture in Nineteenth- Century (Palgrave Macmilan 2015).
Linda Porter, Mary Tudor: The First Queen (Piatkus Books 2007).
MB Biskupski, The History of Poland (Greenwood press 2000).
Michael Hicks, English Political Culture in the Fifteenth Century (Routledge, 2002).
Vernon Bogdanor, The Monarchy and the Constitution (Oxford University Press 1997).
William Whewell, Grotius on the Rights of War and Peace an Abidged Translation (Cambridge University Press 2009).
วิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์
วิศรุต คิดดี, 'หลักเกณฑ์การสืบตำแหน่งประมุขของรัฐที่เป็นราชอาณาจักร' (วิทยานิพนธ์ นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2555).
อมรรัตน์ กุลสุจริต, 'ประมุขของรัฐในระบบรัฐสภา : ศึกษาในเชิงประวัติศาสตร์กฎหมายรัฐธรรมนูญเปรียบเทียบกรณีของประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน ญี่ปุ่น และไทย' (วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2541).
Downloads
เผยแพร่แล้ว
License
Copyright (c) 2023 วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ผลงานที่ตีพิมพ์ในวารสารนิติศาสตร์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และวารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สงวนสิทธิในการเผยแพร่ผลงานที่ตีพิมพ์ในแบบรูปเล่มและทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นใด
บทความหรือข้อความคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารนิติศาสตร์เป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนโดยเฉพาะ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และบรรณาธิการไม่จําเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ