อัตลักษณ์ดิจิทัลและการพิสูจน์ยืนยันตัวตน
คำสำคัญ:
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์, อัตลักษณ์ดิจิทัล, การพิสูจน์ตัวตน, การยืนยันตัวตนบทคัดย่อ
ในประเทศไทยพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการควบคุมดูแลธุรกิจบริการเกี่ยวกับระบบการพิสูจน์และยืนยันตัวตนทางดิจิทัลที่ต้องได้รับใบอนุญาต พ.ศ. 2565 ได้วางกรอบกำกับดูแลการให้บริการพิสูจน์และยืนยันตัวตนตามกฎหมาย แต่บริบทของบริการที่เกี่ยวข้องกับอัตลักษณ์ดิจิทัลมีพลวัตและขอบเขตกว้างขวางกว่านั้น บทความนี้จึงอธิบายความสัมพันธ์และนิเวศน์ของบริการดังกล่าวให้เห็นภาพประกอบกับหลักการตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยแสดงให้เห็นพื้นฐานที่ระบบบริการพิสูจน์ยืนยันตัวตนของไทยเป็นในลักษณะรวมศูนย์และอ้างอิงข้อมูลภาครัฐเป็นสำคัญ ทำให้ยังไม่มีการเตรียมการรองรับระบบพิสูจน์ยืนยันตัวตนแบบไม่รวมศูนย์หรือ DIDs โดยเฉพาะประเด็นการทำงานร่วมกันและยอมรับนับถือบริการของผู้ให้บริการข้ามพรมแดน
References
Anders Gjøen, ‘The EIDAS Review - State of Play’ (ENISA Trust Services Forum, Berlin, 22 September 2020) <https://www.enisa.europa.eu/events/tsforum-caday-2020/presentations/01-01-Gjoen> สืบค้นเมื่อ 28 สิงหาคม 2566.
Daniel J. Solove, The Digital Person: Technology and Privacy in the Information Age (2004).
David GW Birch, ‘Psychic ID: A Blueprint for a Modern National Identity Scheme’ (2008) 1 Identity in the Information Society 189.
Directive 1999/93/EC of the European Parliament and of the Council of 13 December 1999 on a community framework for electronic signatures 2000 (OJ L).
European Commission, Trust Services and Electronic identification (eID), SHAPING EUROPE’S DIGITAL FUTURE - EUROPEAN COMMISSION (2020).
Hal Abelson and Lawrence Lessig, ‘Digital Identity in Cyberspace’ (10 December 1998) <http://groups.csail.mit.edu/mac/classes/6.805/student-papers/fall98-papers/identity/white-paper.html> สืบค้นเมื่อ 17 เมษายน 2565.
Ignacio Alamillo Domingo, ‘SSI eIDAS Legal Report: How eIDAS Can Legally Support Digital Identity and Trustworthy DLT-Based Transactions in the Digital Single Market’ (European Commission 2020).
ITU, Digital Identity in the ICT Ecosystem: An Overview (2018) <https://www.itu.int:443/en/publications/ITU-D/Pages/publications.aspx> สืบค้นเมื่อ 29 กรกฎาคม 2565.
J Bernal Bernabe and others, ‘Privacy-Preserving Solutions for Blockchain: Review and Challenges’ (2019).
Kaliya Young, The Domains of Identity (Anthem Press 2020).
Nicholas Negroponte N, Being Digital (Alfred A Knopf 1995).
Philippe Nonet and Philip Selznick, ‘Responsive Law’, Law and Society in Transition (Routledge 2001).
Regulation (EU) No 910/2014 of the European Parliament and of the Council of 23 July 2014 on electronic identification and trust services for electronic transactions in the internal market and repealing Directive 1999/93/EC 2014 (OJ L) (eIDAS).
Rowena Edwardina Rodrigues, ‘Revisiting the Legal Regulation of Digital Identity in the Light of Global Implementation and Local Difference’ (PhD Thesis University of Edinburgh 2011).
Satoru Tezuka, ‘Japan Trust Services & International Mutual Recognition Technical WG (IMRT-WG)’ (Keio University, 3 September 2019) <https://docbox.etsi.org/workshop/2019/201909_NorthAmerica _GlobalisationofTrustServices/Japanses%20trust%20services%20and%20IMRT-190903.pdf> สืบค้นเมื่อ 28 สิงหาคม 2566.
Sonja Vivienne, Digital Identity and Everyday Activism: Sharing Private Stories with Networked Publics (Palgrave 2016).
UNCITRAL Model Law on Electronic Signatures with Guide to Enactment (United Nations 2001).
UNCITRAL Model Law on the Use and Cross-border Recognition of Identity Management and Trust Services (2022).
World Bank, ID Enabling Environment Assessment : Guidance Note (2018) <https://documents.worldbank.org/en/publication/documents-reports/documentdetail/ 881991559312326936/ID-Enabling-Environment-Assessment-Guidance-Note> สืบค้นเมื่อ 29 กรกฎาคม 2565.
World Bank, GSMA, and Secure Identity Alliance, Digital Identity: Towards Shared Principles for Public and Private Sector Cooperation (2016) <https://www.gsma.com/mobilefordevelopment/resources/digital-identity-towards-shared-principles-public-private-sector-cooperation/> สืบค้นเมื่อ 22 สิงหาคม 2566.
ปิยะบุตร บุญอร่ามเรือง, ‘ปริทัศน์ว่าด้วยกรอบการกำกับดูแลธุรกิจบริการดิจิทัลเกี่ยวกับการพิสูจน์ยืนยันตัวตนและการรับรองความน่าเชื่อถือ’ (2565) 25 วารสารกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ 530.
สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์, กรอบการขับเคลื่อนการให้บริการพิสูจน์และยืนยันตัวตนทางดิจิทัลประเทศไทยระยะที่ 1 (กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม 2565).
Downloads
เผยแพร่แล้ว
License
Copyright (c) 2023 วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ผลงานที่ตีพิมพ์ในวารสารนิติศาสตร์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และวารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สงวนสิทธิในการเผยแพร่ผลงานที่ตีพิมพ์ในแบบรูปเล่มและทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นใด
บทความหรือข้อความคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารนิติศาสตร์เป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนโดยเฉพาะ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และบรรณาธิการไม่จําเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ