การศึกษาสมรรถนะการสร้างสรรค์นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูนาฏศิลป์
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาสมรรถนะการสร้างสรรค์นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูนาฏศิลป์มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษาสมรรถนะของครูผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษาที่ส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้ และ เพื่อเป็นแนวทางกำหนดสมรรถนะการสร้างสรรค์นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ในระดับอุดมศึกษาที่สำคัญของครูผู้สอนนาฏศิลป์ ซึ่งจากการศึกษาจากนโยบายการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา นโยบายระดับอุดมศึกษาด้านการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้ และการทบทวนงานวิจัยพบว่าสมรรถนะการสร้างสรรค์นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ในระดับอุดมศึกษาที่สำคัญของครูผู้สอนนาฏศิลป์ได้แก่ สมรรถนะส่วนบุคคล สมรรถนะการจัดการเรียนรู้ สมรรถนะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี สมรรถนะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม สมรรถนะด้านความรู้และการพัฒนาตนเอง
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กองนโยบายและแผนสำนักอธิการบดี สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์. (2565). แผนพัฒนาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. 2565-2569. [Online]. เข้าถึงไดจาก http://www.bpi.ac.th/management/strategic. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2565
จิติมา วรรณศรี. (2552). คุณภาพการศึกษากับสมรรถนะของครูที่พึงประสงค์. วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา. ( มรกราคม – มีนาคม):1-5
ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์. (2562). ทฤษฎีการสร้างสรรค์ศิลป์. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. ปีที่ 6 (ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม): 235-248.
ทวีศักดิ์ อุ่นจิตติกุล. (2561). “คำสอนของพ่อ” รอให้ครูตระหนักรู้ในหน้าที่เพื่อสร้างคน. [Online]. เขาถึงไดจาก https://d.daily news.co.th/article/622037/. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2564.
ธนกฤ อั้งน้อย. (2563). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูใหม่ในศตวรรษที่ 21 ตามแนวคิดโรงเรียนเป็ นองค์การแห่งการ เรียนรู้. ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ภูริ วงศ์วิเชียร, สุนนทรา โตบัวและศุภชัย จันทร์สุวรรณ. (2558) อนาคตภาพของคุณลักษณะบัณฑิตวิชาชีพครูสาขานาฏศิลป์ไทยในทศวรรษหน้า. Veridian E-Journal, Silpakorn University. ปีที่ 8 (ฉบับที่ 2 ฉบับภาษาไทย มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ (พฤษภาคม – สิงหาคม)): 613-627.
ศวิตา ทองสง. (2555). หลักการออกแบบของADDIE model. . [Online]. เข้าถึงได้จาก https://drsumaibinbai.files.wordpress.com/2014/12/addie_design_ sumai.pdf. สืบค้นเมื่อ 24 ตุลาคม 2564
ึ7. สยามรัฐออนไลน์. (2562). เรียนรู้พระราชดำริเกี่ยวกับหน้าที่ของนักเรียน-ครู. [Online]. เข้าถึงไดจาก https://siamrath. co.th/n/61300.. สืบค้นเมื่อ 12 พฤศจิกายน 2564.
สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา.(2561). แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี พ.ศ. 2561 – 2580. [Online]. เข้าถึงไดจากhttp://plan.bsru.ac.th/th/download/plan20yrs/. สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2564.
สำนักงานเลขานุการครุสภา. (2560). ครูยุคใหม่..สร้างเด็กไทย 4.0. การประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2560. [Online]. เข้าถึงไดจาก https://www.kroobannok.com/82870. สืบค้นเมื่อ 24 ตุลาคม 2564.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564). ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องการประกาศแผนการปฏิรูป ประเทศ (ฉบับปรับปรุง). [Online]. เข้าถึงได้จากhttp://www.ratchakitcha.soc.go.th/. สืบค้นเมื่อ 24 ตุลาคม 2564.
อมรรัตน์ เตชะนอ, รัชนี จรุงศิรวัฒน์ และพระฮอนด้า วาทสโท. (2563). การจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. 7 (กันยายน): 1-14
อริสา นพคุณ. (2561). การพัฒนาสมรรถนะครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา. วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา. 12 (กันยายน-ธันวาคม):232-240
Barber, Michael. (6 August 2009). The Challenge of Achieving World Class Performance: Education in the 21 st Century. Minneapolis : n.p
Spencer, L. M., & Spencer, S. M. (1993). Competence at Work: Model for Superior Performance. New York:
Wiley & Sons.