การนำนโยบายไปปฏิบัติด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของสถานพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

Main Article Content

Aekkawee Meesuk

บทคัดย่อ

การส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามนโยบายแห่งชาติด้านยาพ.ศ.2554 และยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติพ.ศ.2555-2559 ต้องอาศัยการทำงานของสถานพยาบาลเพื่อให้เกิดนำนโยบายเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในสถานพยาบาลไปสู่การปฏิบัติ อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาลักษณะของสถานพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข พบว่าสถานพยาบาลแต่ละแห่งจะมีอิสระในการบริหารจัดการด้านยาของตนเอง มีศักยภาพและวิธีการบริหารจัดการแตกต่างกันที่ขึ้นอยู่กับบริบทของประเด็นปัญหาด้านยาในสถานพยาบาล รวมถึงสถานพยาบาลแต่ละแห่งมีขีดความสามารถและความตั้งใจในการดำเนินงานตามกฎระเบียบและมาตรการการใช้ยาอย่างสมเหตุผลต่างกัน ทำให้ผลลัพธ์การดำเนินงานเพื่อส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของสถานพยาบาลใน 3 เรื่อง ได้แก่ การคัดเลือกยาเข้าสู่บัญชียาของสถานพยาบาล การจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ของสถานพยาบาล และการประเมินการใช้ยาในสถานพยาบาลไม่สอดคล้องกับนโยบายแห่งชาติด้านยาฯ ความไม่สอดคล้องดังกล่าวสะท้อนถึง “ช่องว่าง” ระหว่างเจตนารมณ์ของนโยบาย (Policy intention) กับผลการนำนโยบายไปปฏิบัติของสถานพยาบาลที่เกิดขึ้นจริง

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ASTVผู้จัดการออนไลน์. "คลี่ปม‘ซูโดอีเฟดรีน’ ทุจริตยาแก้หวัด...ผลิตยาบ้า!." https://www.manager.co.th/Weekend/ViewNews.aspx?NewsID=9550000040716&TabID=3& (สืบค้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2559).
Hfocus. "“ซูโดอีเฟดรีน”ล่องหน สะท้อนปัญหาระบบยาไทย." https://www.hfocus.org/content/2012/05/114 (สืบค้นเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2558).
กนกวรรณ กำลังพัฒนา. "ความผันแปรระหว่างโรงพยาบาลของราคาเบิกจ่ายยาในบัญชียาหลักแห่งชาติที่มีราคากลาง." วิทยานิพนธ์เภสัชศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2556.
กรมบัญชีกลาง. แนวทางการตรวจสอบ การเบิกจ่ายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลข้าราชการของส่วนราชการ (เฉพาะที่ไม่ได้อยู่ในระบบการจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาล). กรุงเทพมหานคร: สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง, 2554.
กค 0408.3/ว 460 การตรวจสอบการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลข้าราชการของส่วนราชการ, กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง. กค 0408.3/ว 460, 26 ธันวาคม 2554.
กค 0422.2/ว 45 ซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สิทธิในระบบเบิกจ่ายตรงเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล, กระทรวงการคลัง. กค 0422.2/ว 45, 7 มิถนายน 2555.
กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560, ราชกิจจานุเบกษา
เล่มที่ 134 ตอนที่ 64ก (14 มิถุนายน 2560): 4-14.
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กระทรวงสาธารณสุข. รายงานข้อมูลทรัพยากรสาธารณสุข พ.ศ.2559. กรุงเทพมหานคร: กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กระทรวงสาธารณสุข, 2560.
กองควบคุมวัตถุเสพติด สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. "ซูโดอีเฟดรีน (Pseudoephedrine)." https://narcotic.fda.moph.go.th/welcome/?p=2720. (สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2559).
กองควบคุมวัตถุเสพติด สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. "การดำเนินการควบคุมกำกับดูแล Pseudoephedrine ของอย." https://narcotic.fda.moph.go.th/welcome/?p=2720 (สืบค้นเมื่อวันที่ 14 เมษายน 2559).
กองบริหารการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข. "โปรแกรมระบบรายงานและข้อมูลข่าวสารกิจกรรมการปฏิบัติงานทางเภสัชกรรม." https://203.157.3.54/hssd1/umd/HSS_PRARMACY/report/report_2.php (สืบค้นเมื่อวันที่ 19 เมษายน 2559).
กองบริหารการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข. "มูลค่าการจัดซื้อเวชภัณฑ์ร่วมเทียบกับมูลค่าการจัดซื้อเวชภัณฑ์ทั้งหมด." https://203.157.3.54/hssd1/???b3B0aW9uPXJlcG9ydCZtb2R1bGU9cmVwb3J0JnVtZD1hcHAxJkZpc1llYXI9MjU1OSZxPSZtb2Q9cmVwb3J0X21haW40JlpvbmVJRD0mWm9uZVNlcnZJRD0mUHJvdmluY2VJRD0mYXJlYV90eXBlPSZncm91cF89JnNldF89MyZDaGtab25lPSZQcm92aW5jZUlEX3ZpZXc9JlZpZXc9WSY= (สืบค้นเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2559).
คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ. นโยบายแห่งชาติด้านยาพ.ศ. 2554 และยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติพ.ศ.2555-2559. กรุงเทพมหานคร: สำนักยา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2554.
คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ. คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ เล่มที่ 1 ยาระบบทางเดินอาหาร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2552.
คณะอนุกรรมการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล. คู่มือการดำเนินงานโครงการโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Rational Drug Use Hospital Manual). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2558.
คทา บัณฑิตานุกูล, สุนันทา โอศิริ, พัชราภรณ์ ปัญญาวุฒิไกร, และ ฉัตรวรัญ องคสิงห์. อนาคตระบบยาของคนไทยในระบบสุขภาพแห่งชาติในอีก 10 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2546-2555). กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547.
เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ และ กิตติพงษ์ เรือนทิพย์. โครงการศึกษาแนวทางการปฏิรูปองค์กรเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพในการบริหารจัดการระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2554.
ไทยรัฐออนไลน์. "สธ.แนะใช้ยาอย่างสมเหตุผล ลดดื้อยา-รายจ่ายยืดเยื้อ." https://www.thairath.co.th/content/edu/108774. (สืบค้นเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2558).
โพสต์ทูเดย์, "ชำแหละเครือข่ายทุจริตยาข้าราชการ."
https://www.posttoday.com/analysis/economy/36694. (สืบค้นเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2553).
ระพีพรรณ ฉลองสุข and จรัสพร ตันติไชยากุล. "การเปรียบเทียบราคายาที่ผ่านการจัดซื้อโดยตรงกับการจัดซื้อยาร่วมกันของโรงพยาบาลในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4." วารสารวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ 18, ฉ. 1 (2547): 9-22.
รุ่งทิวา หมื่นปา, เจริญ ตรีศักดิ์, ชุติมา อรรคลีพันธุ์, สุพล ลิมวัฒนานนท์, บัญญัติ สิทธิธัญกิจ, จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์, อารีวรรณ เชี่ยวชาญวัฒนา, and วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร. "พรมแดนแห่งความรู้: หนึ่งทศวรรษของการประเมินการใช้ยาในโรงพยาบาล." วารสารวิชาการสาธารณสุข 13, ฉ. 2 (มีนาคม-เมษายน 2547): 277-90.
รายงานการประชุมคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัดครั้งที่ 6/2551 วันที่ 7 กรกฎาคม 2551, โรงพยาบาลสระบุรี, 7 กรกฎาคม 2551.
รายงานการประชุมคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัดครั้งที่ 2/2551 วันที่ 9 พฤศจิกายน 2550, โรงพยาบาลสระบุรี, 9 พฤศจิกายน 2550.
รายงานการประชุมคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัดครั้งที่ 7/2551 วันที่ 13 สิงหาคม 2551, โรงพยาบาลสระบุรี, 13 สิงหาคม 2551.
รายงานการประชุมคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัดครั้งที่ 5/2551 วันที่ 24 มิถุนายน 2551, โรงพยาบาลสระบุรี, 24 มิถุนายน 2551.
ศรีเพ็ญ ตันติเวสส. ทบทวนสภาพปัญหาและการวิจัยเกี่ยวกับระบบยาของประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข, 2550.
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารด้านเวชภัณฑ์ กระทรวงสาธารณสุข. "การประเมินมาตรฐานความปลอดภัยด้านยาโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2558." https://dmsic.moph.go.th/dmsic/index.php?&p=1&type=3&t=3&id=24&n_id=4611&sec=2 (สืบค้นเมื่อวันที่ 19 เมษายน 2560).
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. "โรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล: โรงพยาบาลทั่วไทย ใช้ยาคุ้มค่า ปลอดภัย ไม่ซ้ำซ้อน." HSRI Forum ฉบับพิเศษ (2557): 24-25.
สยามรัฐ. "บัญชีกลางดึงปปท. จับผิดทุจริตยา." สยามรัฐ 25 มีนาคม 2553.
สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์ และคณะ. การใช้ยา ผลกระทบต่อค่าใช้จ่าย และมาตรการควบคุมการใช้ยาของโรงพยาบาลนำร่อง กรณีผู้ป่วยนอก ในระบบจ่ายตรงสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ ปีงบประมาณ 2552. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2553.
สายศิริ ด่านวัฒนะ และ อภิญญา อิสระชาญพานิช. ถอดบทเรียนการดำเนินมาตรการส่งเสริมและกำกับการใช้ยาในโรงพยาบาลต้นแบบ 3 แห่ง. นนทบุรี: สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.), 2555.
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข. การพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ กระทรวงสาธารณสุข. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก, 2542.
สำนักตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข สำนักตรวจและประเมินผล. แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558. นนทบุรี: สำนักตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข สำนักตรวจและประเมินผล กระทรวงสาธารณสุข, 2558.
สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข. "ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 " https://bps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/mophplan_2559_final_0.pdf (สืบค้นเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2560).
สำนักยา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. "ยุทธศาสตร์ 2 ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผล." https://goo.gl/pbEBZ5. (สืบค้นเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2558).
สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, และ ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). ระบบยาของประเทศไทย. นนทบุรี: สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ, 2545.
อัปสร บุญยัง. "การประเมินการจัดซื้อยาร่วมระดับเขต: กรณีศึกษาเขตตรวจราชการที่ 2." วารสารองค์การเภสัชกรรม 35, ฉ. 1 (ตุลาคม 2551-มีนาคม 2552): 3-19.
เอกวีร์ มีสุข. "การเมืองของการนำนโยบายแห่งชาติด้านยาไปปฏิบัติ: ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างคัดเลือกยาเข้าสู่บัญชียาหลักแห่งชาติและการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล." วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558.
Gerald, Michael C. "National Drug Policy and Rational Drug Use: A Model Curriculum for Developing Countries." Journal of Clinical Epidemiology 44, no. Supplement 2 (1991): 95-99.
Holloway, Kathleen A. and Terry Green. Drug and Therapeutics Committees: A Practical Guide. Geneva: World Health Organization, 2003.

Kettl, Donald F. and James W. Fesler. The Politics of the Administrative Process. Maryland: CQPress, 2009.
Klijin, Erik-Hans and Joop F.M. Koppenjan. "Governance Network Theory: Past, Present and Future." Policy & Politics 40, no. 4 (2012): 587-606.
Management Sciences for Health and World Health Organization. Drug and Therapeutics Committee Training Course. Arlington, VA: Management Sciences for Health, 2007.
Parson, Wayne. Public Policy: An Introduction to the Theory and Practice of Policy Analysis. Cheltenham: Edward Elgar Publishing, 1997.
Pollitt, Christopher and Geert Bouckaert. Public Management Reform: A Comparative Analysis - New Public Management, Governance, and the Neo-Weberian State. Oxford: Oxford University Press, 2011.
Seiter, Andreas. A Practical Approach to Pharmaceutical Policy. Washington, D.C.: World Bank, 2010.
Traulsen, Janine Morgall and Anna Birna Almarsdóttir. "The Argument for Pharmaceutical Policy." Pharmacy World and Science 27, no. 1 (February 2005): 7-12.
USAID. The Health System Assessment Approach: A How-to Manual Version 2.0. North Bethesda: Health System 2020, USAID, 2012.
World Bank. "Pharmaceutical Policy." https://web.worldbank.org/WBSITE/EXTERNAL/TOPICS/EXTHEALTHNUTRITIONANDPOPULATION/EXTHSD/0,,contentMDK:22300931~menuPK:376799~pagePK:148956~piPK:216618~theSitePK:376793~isCURL:Y~isCURL:Y~isCURL:Y,00.html. (accessed Jun 29, 2015).
World Health Organiation. How to Develop and Implement a National Drug Policy. Malta: World Health Organiation, 2001.
Wu, Xun, M. Ramesh, Michael Howlett, and Scott Fritzen. The Public Policy Primer: Managing the Policy Process. London: Routledge, 2010.
ผู้ให้สัมภาษณ์ ก., สัมภาษณ์โดย เอกวีร์ มีสุข, กรุงเทพมหานคร, 23 พฤษภาคม 2556.
ผู้ให้สัมภาษณ์ ง., สัมภาษณ์โดย เอกวีร์ มีสุข, กรุงเทพมหานคร, 11 ตุลาคม 2556.
ผู้ให้สัมภาษณ์ จ., สัมภาษณ์โดย เอกวีร์ มีสุข, กรุงเทพมหานคร, 14 ตุลาคม 2556 และ 5 กันยายน 2557.
ผู้ให้สัมภาษณ์ ฉ., สัมภาษณ์โดย เอกวีร์ มีสุข, กรุงเทพมหานคร, 11 พฤศจิกายน 2556.
ผู้ให้สัมภาษณ์ ฒ., สัมภาษณ์โดย เอกวีร์ มีสุข, ปทุมธานี, 8 ตุลาคม 2558.
ผู้ให้สัมภาษณ์ ฌ., สัมภาษณ์โดย เอกวีร์ มีสุข, ปทุมธานี, 8 ตุลาคม 2558.