ศาลรัฐธรรมนูญไทยกับการส่งเสริมหลักนิติธรรมในระบบรัฐสภา

Main Article Content

รณวีร์ หิรัญสิ

บทคัดย่อ

บทความนี้มุ่งอธิบายถึงบทบาทของศาลรัฐธรรมนูญในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทำงานของรัฐสภา การตรวจวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของการตรากฎหมายนับเป็นภารกิจหลักของศาลรัฐธรรมนูญในส่วนที่เกี่ยวกับระบบรัฐสภา นอกเหนือไปจากการวินิจฉัยคำร้องโต้แย้งปัญหาความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของบทบัญญัติของกฎหมายแล้ว ศาลรัฐธรรมนูญยังทำหน้าที่ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ตามรัฐธรรมนูญของการดำรงตำแหน่งทางการเมืองและกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับระบบรัฐสภาอีกด้วย ได้แก่ การวินิจฉัยการสิ้นสุดสถานะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา รวมทั้งผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง การวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของการทำข้อตกลงระหว่างประเทศ และการบังคับใช้บทบัญญัติของกฎหมายรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับการกระทำหรือการดำเนินกิจกรรมที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญของพรรคการเมือง

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

วรเจตน์ ภาคีรัตน์, “หลักนิติรัฐและหลักนิติธรรม,” จุลนิติ, ปีที่ 9 (มกราคม - กุมภาพันธ์ 2555), 49 – 67.

ประยูร กาญจนดุล, “หลักนิติธรรมไทย,” ใน เอกบุญ วงศ์สวัสดิ์กุล (บก.), นิติรัฐ นิติธรรม, (กรุงเทพฯ: โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2553), 140, 153.

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ, “การปฏิรูปการเมืองภายใต้หลักนิติธรรม,” ใน รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 16 ศาลรัฐธรรมนูญ ยึดหลักนิติธรรม ค้ำจุนประชาธิปไตย ห่วงใยสิทธิและเสรีภาพของประชาชน, (กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2561), 150-168.

บรรเจิด สิงคะเนติ, “หลักนิติธรรมในฐานะเกณฑ์ตรวจสอบการกระทำขององค์ของรัฐ,” (เอกสารวิชาการส่วนบุคคล หลักสูตรหลักนิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย รุ่นที่ 4 วิทยาลัยรัฐธรรมนูญ สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ), 2-9.

John Ferejohn, Frances Rosenbluth, and Charles Shipan, "Comparative Judicial Politics," in Carles Boix and Susan C. Stokes (ed.), The Oxford Handbook of Comparative Politics, (Oxford: Oxford University Press, 2007), 728.

จรัญ ภักดีธนากุล, “หลักนิติธรรมกับกับการควบคุมความชอบด้วยรัฐธรรมนูญและความชอบด้วยกฎหมาย,” วารสารวิชาการ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, ปีที่ 3, ฉบับที่ 2 (ธันวาคม 2555 - พฤษภาคม 2556), 1 – 5.

"คำวินิจฉัยที่ 2/2551 วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2551 เรื่อง ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน พ.ศ. .... ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 141," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 125 ตอนที่ 74 ก, 2 มิถุนายน 2551, 1-20.

"คำวินิจฉัยที่ 4/2551 วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2551 เรื่อง ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. .... ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 141," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 125 ตอนที่ 79 ก, 13 มิถุนายน 2551, 1-18.

"คำวินิจฉัยที่ 3/2551 วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2551 เรื่อง ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่..) พ.ศ. .... ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 141," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 125 ตอนที่ 77 ก, 9 มิถุนายน 2551, 1-17.

"คำวินิจฉัยที่ 30/2548 วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 เรื่อง ประธานวุฒิสภาส่งความเห็นของสมาชิกวุฒิสภาให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 262 วรรคหนึ่ง (1) กรณีร่างพระราชบัญญัติการผลิตผลิตภัณฑ์ซีดี พ.ศ. .... มาตรา 38 วรรคหนึ่ง มีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 29 มาตรา 32 และมาตรา 48," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 122 ตอนที่ 96 ก, 17 ตุลาคม 2548, 1-17.

"คำวินิจฉัยที่ 32/2546 วันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2546 เรื่อง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเสนอความเห็นขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยว่า ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 มาตรา 17 เฉพาะกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ในส่วนของเงินอุดหนุนเฉพาะกิจเพื่อพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ และเงินอุดหนุนเฉพาะกิจเพื่อพัฒนาด้านการท่องเที่ยวขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวไทย มีการกระทำฝ่าฝืนบทบัญญัติมาตรา 180 วรรคหก หรือไม่," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 121 ตอนที่ 30 ก, 22 กันยายน 2546, 1-22.

"คำวินิจฉัยที่ 14/2551 วันที่ 29 กันยายน พุทธศักราช 2551 เรื่อง สมาชิกวุฒิสภาเสนอความเห็นเพื่อขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 168 วรรคเจ็ด ว่าการเพิ่มงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 มีการกระทำฝ่าฝืนบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ มาตรา 168 วรรคหก หรือไม่," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 125 ตอนที่ 127 ก, 4 ธันวาคม 2551, 1-15.

"คำวินิจฉัยที่ 14/2552 วันที่ 3 กันยายน พุทธศักราช 2552 เรื่อง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเสนอความเห็นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 168 วรรคเจ็ด เพื่อขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยว่าการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มีการกระทำด้วยประการใด ๆ ที่มีผลให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือกรรมาธิการ มีส่วนไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในการใช้งบประมาณรายจ่าย ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 168 วรรคหก หรือไม่," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 126 ตอนที่ 99 ก, 29 ธันวาคม 2552, 1-10.

"คำวินิจฉัยที่ 6-7/2551 วันที่ 8 กรกฎาคม พุทธศักราช 2551 เรื่อง ประธานวุฒิสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรส่งความเห็นของสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดเกี่ยวกับคำแถลงการณ์ร่วมไทย - กัมพูชา ฉบับลงวันที่ 18 มิถุนายน 2551 เป็นหนังสือสัญญาที่ต้องได้รับความเห็นชอบของรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 190 หรือไม่," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 125 ตอนที่ 108 ก, 10 ตุลาคม 2551, 1-25.

"คำวินิจฉัยที่ 30/2543 วันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2543 เรื่อง ผู้ขอจัดตั้งพรรคนำชัยขอให้วินิจฉัยชี้ขาดคำสั่งของนายทะเบียนพรรคการเมือง," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 118 ตอนที่ 56 ก, 16 กรกฎาคม 2544, 112-17.

"คำวินิจฉัยที่ 88/2547 วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2547 เรื่อง ผู้ขอจัดตั้งพรรคการเมืองขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดคำสั่งของนายทะเบียนพรรคการเมืองกรณีไม่รับจดแจ้งการจัดตั้งพรรคมหาชน," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 122 ตอนที่ 70 ก, 23 สิงหาคม 2548, 104-20.

"คำวินิจฉัยที่ 12/2546 วันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2546 เรื่อง หัวหน้าพรรคพลังธรรมขอให้วินิจฉัยชี้ขาดคำสั่งของนายทะเบียนพรรคการเมือง," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 121 ตอนที่ 3 ก, 8 มกราคม 2547, 1-8.

"คำวินิจฉัยที่ 46/2546 วันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 เรื่อง หัวหน้าพรรคชีวิตที่ดีกว่าขอให้วินิจฉัยชี้ขาดคำสั่งของนายทะเบียนพรรคการเมือง," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 121 ตอนที่ 51 ก, 16 สิงหาคม 2547, 113-29. และ "คำวินิจฉัยที่ 49/2554 วันที่ 28 ธันวาคม พุทธศักราช 2554 เรื่อง พรรคชีวิตที่ดีกว่าขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยกรณีคำสั่งของนายทะเบียนพรรคการเมืองที่ไม่รับจดแจ้งการเปลี่ยนแปลงนโยบายพรรค ข้อบังคับพรรค และกรรมการบริหารพรรค ชอบด้วยพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2550 หรือไม่," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 129 ตอนที่ 68 ก, 26 กรกฎาคม 2555, 56-64.

"คำวินิจฉัยที่ 48/2554 วันที่ 28 ธันวาคม พุทธศักราช 2554 เรื่อง พรรคแรงงานขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยกรณีประกาศนายทะเบียนพรรคการเมือง เรื่อง พรรคแรงงานสิ้นสภาพความเป็นพรรคการเมือง ชอบด้วยพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2550 มาตรา 91 หรือไม่," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 129 ตอนที่ 68 ก, 26 กรกฎาคม 2555, 9-18.

"คำวินิจฉัยที่ 1/2542 วันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542 เรื่อง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสิบสองคนได้ยื่นคำร้องอุทธรณ์ต่อศาลรัฐธรรมนูญคัดค้านว่ามติของพรรคประชากรไทยมีลักษณะตามมาตรา 47 วรรคสามของรัฐธรรมนูญ," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 116 ตอนที่ 17 ก, 16 มีนาคม 2542, 1-12.

"คำวินิจฉัยที่ 57/2543 วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 เรื่อง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (นายเนวิน ชิดชอบ) ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยว่า มติของพรรคเอกภาพ มีลักษณะตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 47 วรรคสาม," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 118 ตอนที่ 72 ก, 3 กันยายน 2544.

"คำวินิจฉัยที่ 25/2554 วันที่ 27 เมษายน พุทธศักราช 2554 เรื่อง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (นายจุมพฏ บุญใหญ่) ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยว่า มติของพรรคเพื่อไทย มีลักษณะขัดต่อสถานะและการปฏิบัติหน้าที่ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญ หรือขัดหรือแย้งกับหลักการพื้นฐานแห่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 65 วรรคสาม หรือไม่," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 129 ตอนที่ 5 ก, 12 มกราคม 2555, 1-13; "คำวินิจฉัยที่ 26/2554 วันที่ 27 เมษายน พุทธศักราช 2554 เรื่อง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ร้อยตรี ปรพล อดิเรกสาร) ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยว่า มติของพรรคเพื่อไทย มีลักษณะขัดต่อสถานะและการปฏิบัติหน้าที่ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญ หรือขัดหรือแย้งกับหลักการพื้นฐานแห่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 65 วรรคสาม หรือไม่," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 129 ตอนที่ 7 ก, 18 มกราคม 2555, 1-12; "คำวินิจฉัยที่ 12/2556 วันที่ 4 กันยายน พุทธศักราช 2556 เรื่อง นายสฤษดิ์ ประดับศรี กับสมาชิกพรรคเพื่อไทย รวม 108 คน ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญ พิจารณาวินิจฉัยว่า มติของพรรคเพื่อไทยที่อนุญาตให้นายสถิรพร นาคสุข ลาออกจากการเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จะขัดต่อสถานะและการปฏิบัติหน้าที่ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญ หรือขัดหรือแย้งกับหลักการพื้นฐานแห่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 65 วรรคสาม หรือไม่," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 130 ตอนที่ 305 ก, 7 พฤศจิกายน 2556, 1-10.

"คำวินิจฉัยที่ 85/2547 วันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 เรื่อง สมาชิกพรรคไทยรักไทย ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า มติพรรคไทยรักไทยมีลักษณะตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 47 วรรคสาม หรือไม่," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 122 ตอนที่ 67 ก, 16 สิงหาคม 2548, 1-10.

"คำวินิจฉัยที่ 6/2541 วันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2541 เรื่อง นายทะเบียนพรรคการเมืองขอให้สั่งยุบพรรคมวลชน," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 115 ตอนที่ 66 ก, 29 กันยายน 2541, 1-5.

"คำวินิจฉัยที่ 28/2544 วันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2544 เรื่อง นายทะเบียนพรรคการเมืองขอให้ศาลรัฐธรรมนูญสั่งยุบพรรคเสรีธรรม เพื่อรวมพรรคเสรีธรรมเข้ากับพรรคไทยรักไทยที่เป็นพรรคการเมืองหลัก," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 119 ตอนที่ 38 ก, 26 เมษายน 2545, 65-69.

"คำวินิจฉัยที่ 12/2545 วันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2545 เรื่อง นายทะเบียนพรรคการเมืองขอให้สั่งยุบพรรคความหวังใหม่เพื่อรวมเข้ากับพรรคไทยรักไทยที่เป็นพรรคการเมืองหลัก," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 119 ตอนที่ 117 ก, 25 พฤศจิกายน 2545, 130-34.

"คำวินิจฉัยที่ 57/2547 วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2547 เรื่อง นายทะเบียนพรรคการเมืองขอให้สั่งยุบพรรคชาติพัฒนาเพื่อรวมพรรคชาติพัฒนาเข้ากับพรรคไทยรักไทยที่เป็นพรรคการเมืองหลัก," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 122 ตอนที่ 40 ก, 19 พฤษภาคม 2548, 3-7.

"คำวินิจฉัยที่ 3/2548 วันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2548 เรื่อง นายทะเบียนพรรคการเมืองขอให้สั่งยุบพรรคต้นตระกูลไทยเพื่อรวมเข้ากับพรรคชาติไทยที่เป็นพรรคการเมืองหลัก," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 122 ตอนที่ 71 ก, 24 สิงหาคม 2548, 152-63.

"คำวินิจฉัยที่ 24/2544 วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2544 เรื่อง นายทะเบียนพรรคการเมืองขอให้สั่งยุบพรรครามสยาม," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 119 ตอนที่ 37 ก, 25 เมษายน 2545, 1-3.

"คำวินิจฉัยที่ 30/2544 วันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2544 เรื่อง นายทะเบียนพรรคการเมืองขอให้สั่งยุบพรรคศรัทธาประชาชน," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 119 ตอนที่ 46 ก, 21 พฤษภาคม 2545, 42-45.

"คำวินิจฉัยที่ 50/2545 วันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2545 เรื่อง นายทะเบียนพรรคการเมืองขอให้สั่งยุบพรรคสร้างสรรค์ไทย," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 120 ตอนที่ 70 ก, 21 กรกฎาคม 2546, 1-3.

"คำวินิจฉัยที่ 60/2545 วันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2545 เรื่อง นายทะเบียนพรรคการเมืองขอให้สั่งยุบพรรคเสรีไท," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 120 ตอนที่ 83 ก, 3 กันยายน 2546, 1-4.

"คำวินิจฉัยที่ 15/2546 วันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 เรื่อง นายทะเบียนพรรคการเมืองขอให้ศาลรัฐธรรมนูญสั่งยุบพรรคแก้ปัญหาชาติ," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 121 ตอนที่ 14 ก, 27 มกราคม 2547, 1-4.

"คำวินิจฉัยที่ 60/2547 วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2547 เรื่อง นายทะเบียนพรรคการเมืองขอให้สั่งยุบพรรคชาติประชาไทย," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 122 ตอนที่ 45 ก, 10 มิถุนายน 2548, 1-5.

"คำวินิจฉัยที่ 8/2549 วันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2549 เรื่อง นายทะเบียนพรรคการเมืองขอให้ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งยุบพรรครักษ์ถิ่นไทย," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 123 ตอนที่ 68 ก, 28 มิถุนายน 2549, 101-06.

พรรคที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้ยุบพรรคตามคำร้องของนายทะเบียนพรรคการเมืองในกรณีนี้ ได้แก่ พรรคปฏิรูป (คำวินิจฉัยที่ 2/2542) พรรคมหาราษฎร์ธิปัตย์ (คำวินิจฉัยที่ 45/2542) พรรคชีวิตใหม่ (คำวินิจฉัยที่ 46/2542) พรรคชาตินิยม (คำวินิจฉัยที่ 47/2542) พรรคชาติสามัคคี (คำวินิจฉัยที่ 3/2543) พรรคไทยก้าวหน้า (คำวินิจฉัยที่ 4/2543) พรรคธรรมรัฐ (คำวินิจฉัยที่ 29/2543) พรรครักชาติ (คำวินิจฉัยที่ 64/2543) พรรคประชาสังคม (คำวินิจฉัยที่ 1/2544) พรรคไทยพัฒนา (คำวินิจฉัยที่ 2/2544) พรรคสังคมประชาชน (คำวินิจฉัยที่ 25/2544) พรรคชาวไร่ชาวนาไทย (คำวินิจฉัยที่ 29/2544) พรรคพลังเกษตรกร (คำวินิจฉัยที่ 31/2544) พรรคพลังไทย (คำวินิจฉัยที่ 10/2545) พรรคชาวนาพัฒนาประเทศ (คำวินิจฉัยที่ 11/2545) พรรคโบราณรักษ์ (คำวินิจฉัยที่ 42/2545) พรรคพัฒนาไทย (คำวินิจฉัยที่ 43/2545) พรรคไทยรวมพลัง (คำวินิจฉัยที่ 51/2545) พรรคนำไทย (คำวินิจฉัยที่ 55/2545) พรรคชาติประชาชน (คำวินิจฉัยที่ 56/2545) พรรคไทยมหาชน (คำวินิจฉัยที่ 13/2546) พรรคสังคมพัฒนา (คำวินิจฉัยที่ 38/2546) พรรคเสรีธรรม (คำวินิจฉัยที่ 26/2547) พรรคพลังเสรีธรรม (คำวินิจฉัยที่ 54/2547) พรรคไทยพิทักษ์ไทย (คำวินิจฉัยที่ 56/2547) พรรครวมไทย (คำวินิจฉัยที่ 1/2548) พัฒนาสังคมไทย (คำวินิจฉัยที่ 46/2548) พรรคประชาธรรม (คำวินิจฉัยที่ 42/2548) พรรคแรงงาน (คำวินิจฉัยที่ 47/2548) พรรคชาติพัฒนา (คำวินิจฉัยที่ 48/2548) พรรคทางเลือกที่สาม (คำวินิจฉัยที่ 57/2548) พรรคประชาชนไทย (คำวินิจฉัยที่ 59/2548) พรรคเสรีไทย (คำวินิจฉัยที่ 1/2549) พรรคประชาชาติไทย (คำวินิจฉัยที่ 14/2549) พรรคสันติภาพไทย (คำวินิจฉัยที่ 15/2550) และพรรครวมพลังไทย (คำวินิจฉัยที่ 16/2550)

พรรคการเมืองที่ถูกสั่งให้ยุบด้วยเหตุดังกล่าว ได้แก่ พรรคพลังใหม่ (คำวินิจฉัยที่ 36/2545) พรรคเกษตรเสรี (คำวินิจฉัยที่ 54/2545) พรรคสังคมประชาธิปไตย (คำวินิจฉัยที่ 5/2546) พรรคพลังมหาชน (คำวินิจฉัยที่ 25/2546) พรรคไทยเสรี (คำวินิจฉัยที่ 39/2546) พรรคชาวไทย (คำวินิจฉัยที่ 59/2547) พรรคแรงงานไทย (คำวินิจฉัยที่ 61/2547) พรรคชาติประชาชน (คำวินิจฉัยที่ 2/2548) พรรครู้แจ้งเห็นจริง (คำวินิจฉัยที่ 3/2549) และพรรคไทยช่วยไทย (คำวินิจฉัยที่ 23/2550)

สำหรับพรรคการเมืองที่ถูกยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญสั่งยุบพรรคด้วยเหตุที่ไม่ดำเนินการจัดทำรายงานการดำเนินกิจการของพรรคการเมืองให้ถูกต้องตามเวลาที่กำหนด ได้แก่ พรรคพิทักษ์ไทย (คำวินิจฉัยที่ 26/2544) พรรคนิติมหาชน (คำวินิจฉัยที่ 32/2544) พรรคพัฒนาสังคม (คำวินิจฉัยที่ 51/2544) พรรคถิ่นไทย (คำวินิจฉัยที่ 1/2545) พรรคเอกภาพ (คำวินิจฉัยที่ 2/2545) พรรคสังคมไทย (คำวินิจฉัยที่ 5/2545) พรรคสังคมใหม่ (คำวินิจฉัยที่ 8/2545) พรรคไทยมหารัฐ (คำวินิจฉัยที่ 63/2545) พรรคสันติภาพ (คำวินิจฉัยที่ 23/2546) พรรครักษ์แผ่นดินไทย (คำวินิจฉัยที่ 17/2550) พรรคธัมมาธิปไตย (คำวินิจฉัยที่ 18/2550) พรรคอธิปไตย (คำวินิจฉัยที่ 2/2553) พรรคกฤษไทยมั่นคง (คำวินิจฉัยที่ 3/2553) พรรคพลังเกษตรกร (คำวินิจฉัยที่ 4-5/2553) พรรคเพื่อนเกษตรไทย (คำวินิจฉัยที่ 8-9/2555) พรรคสยาม (คำวินิจฉัยที่ 10-11/2555) พรรคชีวิตที่ดีกว่า (คำวินิจฉัยที่ 3/2556) พรรคพลังแผ่นดินไท (คำวินิจฉัยที่ 7-9/2556) พรรคบำรุงเมือง (คำวินิจฉัยที่ 6-7/2557) และพรรคไทยพอเพียง (คำวินิจฉัยที่ 10-11/2557)

พรรคการเมืองที่ถูกนายทะเบียนพรรคการเมืองยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญขอให้สั่งยุบพรรคด้วยเหตุที่ไม่ปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบคณะกรรมการกองทุนสนุนพรรคการเมือง ได้แก่ พรรคประชารัฐ (คำวินิจฉัยที่ 6/2544) พรรคประชาชน (คำวินิจฉัยที่ 34/2544) พรรควิถีไทย (คำวินิจฉัยที่ 52/2545) พรรคไท (คำวินิจฉัยที่ 42/2546) พรรคอำนาจประชาชน (คำวินิจฉัยที่ 50/2546) พรรคเกษตรกร (คำวินิจฉัยที่ 51/2546) พรรคไทยประชาธิปไตย (คำวินิจฉัยที่ 42/2547) พรรคเกษตรก้าวหน้า (คำวินิจฉัยที่ 49/2547) พรรคก้าวหน้า (คำวินิจฉัยที่ 55/2547) พรรคเสรีประชาธิปไตย (คำวินิจฉัยที่ 83/2547) พรรคชาติประชาธิปไตย (คำวินิจฉัยที่ 52/2548) พรรคพลังธรรม (คำวินิจฉัยที่ 19/2550) พรรคธรรมชาติไทย (คำวินิจฉัยที่ 22/2550) พรรคพลังเกษตรกร (คำวินิจฉัยที่ 4-5/2553) พรรคประชาธิปัตย์ (คำวินิจฉัยที่ 15/2553) พรรคเพื่อนเกษตรไทย (คำวินิจฉัยที่ 8-9/2555) พรรคพลังแผ่นดินไท (คำวินิจฉัยที่ 7-9/2556) พรรคบำรุงเมือง (คำวินิจฉัยที่ 6-7/2557) และพรรคไทยพอเพียง (คำวินิจฉัยที่ 10-11/2557)

"คำวินิจฉัยที่ 1-2/2550 วันที่ 30 พฤษภาคม พุทธศักราช 2550 เรื่อง อัยการสูงสุดขอให้มีคำสั่งยุบพรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า และพรรคประชาธิปัตย์," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 124 ตอนที่ 29 ก, 29 มิถุนายน 2550, 1-81.

“คำวินิจฉัยที่ 1-2/2550 วันที่ 30 พฤษภาคม พุทธศักราช 2550 เรื่อง อัยการสูงสุดขอให้มีคำสั่งยุบพรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า และพรรคประชาธิปัตย์,” ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 124 ตอนที่ 29 ก, 29 มิถุนายน 2550, 1-81.

“คำวินิจฉัยที่ 3-5/2550 วันที่ 30 พฤษภาคม พุทธศักราช 2550 เรื่อง อัยการสูงสุดขอให้มีคำสั่งยุบพรรคพัฒนาชาติไทย พรรคแผ่นดินไทย และพรรคไทยรักไทย,” ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 124 ตอนที่ 33 ก, 13 กรกฎาคม 2550, 1-102.

"คำวินิจฉัยที่ 3-5/2550 วันที่ 30 พฤษภาคม พุทธศักราช 2550 เรื่อง อัยการสูงสุดขอให้มีคำสั่งยุบพรรคพัฒนาชาติไทย พรรคแผ่นดินไทย และพรรคไทยรักไทย," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 124 ตอนที่ 33 ก, 13 กรกฎาคม 2550, 1-102.

“คำวินิจฉัยที่ 3-5/2550 วันที่ 30 พฤษภาคม พุทธศักราช 2550 เรื่อง อัยการสูงสุดขอให้มีคำสั่งยุบพรรคพัฒนาชาติไทย พรรคแผ่นดินไทย และพรรคไทยรักไทย,” ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 124 ตอนที่ 33 ก, 13 กรกฎาคม 2550, 1-102.

"คำวินิจฉัยที่ 18/2551 วันที่ 2 ธันวาคม พุทธศักราช 2551 เรื่อง อัยการสูงสุดขอให้ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งยุบพรรคมัชฌิมาธิปไตย," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 126 ตอนที่ 16 ก, 19 มีนาคม 2552, 1-20.

"คำวินิจฉัยที่ 19/2551 วันที่ 2 ธันวาคม พุทธศักราช 2551 เรื่อง อัยการสูงสุดขอให้ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งยุบพรรคชาติไทย," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 126 ตอนที่ 16 ก, 19 มีนาคม 2552, 79-101.

"คำวินิจฉัยที่ 20/2551 วันที่ 2 ธันวาคม พุทธศักราช 2551 เรื่อง อัยการสูงสุดขอให้ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งยุบพรรคพลังประชาชน," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 126 ตอนที่ 16 ก, 31 มีนาคม 2552, 1-27.

"คำวินิจฉัยที่ 16/2553 วันที่ 9 ธันวาคม พุทธศักราช 2553 เรื่อง อัยการสูงสุดขอให้ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งยุบพรรคประชาธิปัตย์," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 128 ตอนที่ 47 ก, 10 มิถุนายน 2554, 1-16.

“คำวินิจฉัยที่ 3/2562 ลงวันที่ 7 มีนาคม 2562 เรื่อง คณะกรรมการการเลือกตั้งขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยเพื่อมีคำสั่งยุบพรรคไทยรักษาชาติ,” ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 128 ตอนที่ 41 ก, 3 มีนาคม 2562, 29-50.

“คำวินิจฉัยที่ 5/2563 ลงวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2563 เรื่อง คณะกรรมการการเลือกตั้งขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยเพื่อมีคำสั่งยุบพรรคอนาคตใหม่,” ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 137 ตอนที่ 21 ก, 18 มีนาคม 2563, 23-46.

"คำวินิจฉัยที่ 49/2542 วันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2542 เรื่อง ประธานสภาผู้แทนราษฎรส่งคำร้องของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพื่อขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสมาชิกภาพของนายชาญชัย อิสระเสนารักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 116 ตอนที่ 111 ก, 11 พฤศจิกายน 2542, 1-19.

"คำวินิจฉัยที่ 2/2549 วันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2549 เรื่อง ประธานสภาผู้แทนราษฎรส่งคำร้องของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพื่อขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสมาชิกภาพของนายชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อพรรคชาติไทย," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 123 ตอนที่ 121 ก, 24 พฤษภาคม 2549, 82-105.

"คำวินิจฉัยที่ 19/2552 วันที่ 10 พฤษภาคม 2553 เรื่อง ประธานสภาผู้แทนราษฎรส่งเรื่องของคณะกรรมการการเลือกตั้งขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าสมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของนายเกียรติกร พากเพียรศิลป์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรีสิ้นสุดลงตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 106 (3) หรือไม่," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 127 ตอนที่ 13 ก, 10 พฤษภาคม 2553, 1-6.

"คำวินิจฉัยที่ 12-14/2553 เรื่อง สมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกระทำการต้องห้ามอันเป็นเหตุให้สมาชิกภาพสิ้นสุดลงตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หรือไม่," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 128 ตอนที่ 14 ก, 9 มีนาคม 2554, 1-33.

"คำวินิจฉัยที่ 13/2555 วันที่ 18 พฤษภาคม พุทธศักราช 2555 เรื่อง ประธานสภาผู้แทนราษฎรส่งเรื่องของคณะกรรมการการเลือกตั้งเพื่อขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า สมาชิกภาพสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของนายจตุพร พรหมพันธุ์ สิ้นสุดลงตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 106 (4) ประกอบมาตรา 101 (3) หรือไม่," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 129 ตอนที่ 300 ก, 18 ตุลาคม 2555, 1-16.

“คำวินิจฉัยที่ 24/2564 ลงวันที่ 22 ธันวาคม 2564 เรื่อง ประธานสภาผู้แทนราษฎรส่งคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 82 ว่า สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของนายสิระ เจนจาคะ สิ้นสุดลงตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 101 (6) ประกอบมาตรา 98 (10) หรือไม่,” ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 139 ตอนที่ 6 ก, 21 มกราคม 2565, 7-29.

“คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ คำวินิจฉัยที่ 22/2564 เรื่อง คณะกรรมการการเลือกตั้งขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 82 ว่า สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 101 (6) ประกอบมาตรา 98 (4) (6) และมาตรา 96 (2) หรือไม่ (ระหว่าง คณะกรรมการการเลือกตั้ง ผู้ร้อง นายชุมพล จุลใส ที่ 1 นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ ที่ 2 นายอิสสระ สมชัย ที่ 3 นายถาวร เสนเนียม ที่ 4 นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ ที่ 5 ผู้ถูกร้อง),” ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 138, ตอนที่ 89 ก, 30 ธันวาคม 2564, 37-54.

"คำวินิจฉัยที่ 1/2553 วันที่ 22 มกราคม พุทธศักราช 2553 เรื่อง ประธานวุฒิสภาส่งเรื่องของคณะกรรมการการเลือกตั้งขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าสมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาของนายสุรเดช จิรัฐิติเจริญ สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดปราจีนบุรีสิ้นสุดลง ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 119 (4) ประกอบมาตรา 115 (6) หรือไม่," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 127 ตอนที่ 42 ก, 5 กรกฎาคม 2553, 1-8.

“คำวินิจฉัยที่ 12-14/2553 เรื่อง สมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกระทำการต้องห้ามอันเป็นเหตุให้สมาชิกภาพสิ้นสุดลงตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หรือไม่,” ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 128 ตอนที่ 34 ก, 9 มีนาคม 2554, 1-33.

"คำวินิจฉัยที่ 2/2554 วันที่ 11 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2554 เรื่อง ประธานวุฒิสภาส่งเรื่องของคณะกรรมการการเลือกตั้ง เพื่อขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า สมาชิกภาพของนายอิทธิพล เรืองวรบูรณ์ สมาชิกวุฒิสภา สิ้นสุดลงตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 119 (4) ประกอบมาตรา 115 (5) หรือไม่," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 128 ตอนที่ 57 ก, 20 กรกฎาคม 2554, 6-14.

"คำวินิจฉัยที่ 3/2554 วันที่ 11 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2554 เรื่อง ประธานวุฒิสภาส่งคำร้องของสมาชิกวุฒิสภาเพื่อขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า สมาชิกภาพของนายไพบูลย์ นิติตะวัน สมาชิกวุฒิสภา สิ้นสุดลงตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 มาตรา 119 (5) ประกอบมาตรา 266 หรือไม่," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 128 ตอนที่ 57 ก, 20 กรกฎาคม 2554, 43-50.

คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญวันที่ 10 มิถุนายน พุทธศักราช 2563 ให้สมาชิกภาพของนายระวี รุ่งเรือง สมาชิกวุฒิสภาสิ้นสุดลงตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 111(4) ประกอบมาตรา 108 ข. ลักษณะต้องห้าม (1) มาตรา 98(8) และมาตรา 82 วรรคสี่ เนื่องจากเคยถูกลงโทษทางวินัยให้ไล่ออกจากราชการฐานประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง ตามคำสั่งกรมการปกครองที่ 698/2539 ลงวันที่ 15 สิงหาคม 2539 กรณีกระทำการเรียกรับเงินจากผู้สมัครสอบคัดเลือกเข้าเป็นสมาชิกอาสารักษาดินแดน อันเป็นพฤติกรรมในทางทุจริต

"คำวินิจฉัยที่ 36/2542 วันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2542 เรื่อง ประธานสภาผู้แทนราษฎรขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสถานภาพของการเป็นรัฐมนตรี ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 216 (4)," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 116 ตอนที่ 67 ก, 29 กรกฎาคม 2542, 1-8.

"คำวินิจฉัยที่ 4/2544 วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 เรื่อง ประธานวุฒิสภาส่งคำร้องของสมาชิกวุฒิสภา ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า ความเป็นรัฐมนตรีของรัฐมนตรีสิบคน สิ้นสุดลงเฉพาะตัว กรณีดำรงตำแหน่งในห้างหุ้นส่วนและบริษัท หรือไม่," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 118 ตอนที่ 115 ก, 18 ธันวาคม 2544, 1-46.

"คำวินิจฉัยที่ 4/2549 วันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 เรื่อง ประธานวุฒิสภาส่งคำร้องของสมาชิกวุฒิสภาที่เข้าชื่อร้อง เพื่อขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลงตามรัฐธรรมนูญ," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 123 ตอนที่ 56 ก, 31 พฤษภาคม 2549, 90-98.

"คำวินิจฉัยที่ 9/2551 วันที่ 9 กรกฎาคม พุทธศักราช 2551 เรื่อง ประธานวุฒิสภาส่งคำร้องของสมาชิกวุฒิสภา ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า ความเป็นรัฐมนตรีของนายไชยา สะสมทรัพย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขสิ้นสุดลงเฉพาะตัว ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 182 วรรคหนึ่ง (7) ประกอบมาตรา 269 หรือไม่," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 125 ตอนที่ 113 ก, 24 ตุลาคม 2551, 1-14; "คำวินิจฉัยที่ 22/2554 วันที่ 8 มีนาคม พุทธศักราช 2554 เรื่อง ประธานวุฒิสภาส่งคำร้องของสมาชิกวุฒิสภาขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า ความเป็นรัฐมนตรีของคุณหญิงกัลยา โสภณพนิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และความเป็นรัฐมนตรีของ นายถาวร เสนเนียม รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย สิ้นสุดลงเฉพาะตัวตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 182 วรรคหนึ่ง (7) ประกอบมาตรา 269 หรือไม่," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 128 ตอนที่ 70 ก, 23 กันยายน 2554, 1-8; คำวินิจฉัยที่ 5/2561 เรื่อง คณะกรรมการการเลือกตั้งขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 170 วรรคสาม ว่า ความเป็นรัฐมนตรีของ นายดอน ปรมัตถ์วินัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ สิ้นสุดลงเฉพาะตัวตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 170 วรรคหนึ่ง (5) ประกอบมาตรา 187 หรือไม่,” ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 135 ตอนที่ 100 ก, 28 พฤศจิกายน 2561, 42-60.

"คำวินิจฉัยที่ 12-13/2551 วันที่ 9 กันยายน พุทธศักราช 2551 เรื่อง ประธานวุฒิสภาส่งคำร้องของสมาชิกวุฒิสภาเพื่อขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยการสิ้นสุดความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรี และเรื่อง คณะกรรมการการเลือกตั้งขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยการสิ้นสุดความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรี," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 125 ตอนที่ 112 ก, 19 พฤศจิกายน 2551, 1-17.

"คำวินิจฉัยที่ 7/2553 วันที่ 12 พฤษภาคม พุทธศักราช 2553 เรื่อง ประธานวุฒิสภาส่งคำร้องของสมาชิกวุฒิสภาขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า ความเป็นรัฐมนตรีของนายกษิต ภิรมย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ สิ้นสุดลงตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 182 วรรคหนึ่ง (7) ประกอบมาตรา 268 และมาตรา 266 (1) หรือไม่," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 127 ตอนที่ 68 ก, 8 พฤศจิกายน 2553, 34-42.

"คำวินิจฉัยที่ 9/2557 วันที่ 7 พฤษภาคม พุทธศักราช 2557 เรื่อง ประธานวุฒิสภาส่งคำร้องของสมาชิกวุฒิสภาเพื่อขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า ความเป็นรัฐมนตรีของ นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี สิ้นสุดลงเฉพาะตัว ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 182 วรรคหนึ่ง (7) ประกอบมาตรา 268 และมาตรา 266 (2) และ (3) หรือไม่," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 131 ตอนที่ 65 ก, 10 กันยายน 2557, 1-45.

"คำวินิจฉัยที่ 1/2556 วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2556 เรื่อง ประธานวุฒิสภาส่งคำร้องของสมาชิกวุฒิสภาเพื่อขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า ความเป็นรัฐมนตรีของนายวราเทพ รัตนากร รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี สิ้นสุดลงเฉพาะตัวตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 182 วรรคหนึ่ง (3) และ (5) ประกอบ มาตรา 174 (5) หรือไม่," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 130 ตอนที่ 38 ก, 30 เมษายน 2556, 1-8.

"คำวินิจฉัยที่ 31/2543 วันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2543 เรื่อง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 295 กรณีพลตรี สนั่น ขจรประศาสน์ จงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบด้วยข้อความอันเป็นเท็จ," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 118 ตอนที่ 62 ก, 30 กรกฎาคม 2544, 1-43.

"คำวินิจฉัยที่ 20/2544 วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2544 เรื่อง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติขอให้วินิจฉัยชี้ขาดตามรัฐธรรมนูญมาตรา 295 กรณีพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร จงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบด้วยข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อเท็จจริงที่ควรแจ้งให้ทราบ," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 118 ตอนที่ 77 ก, 7 กันยายน 2544, 1-76.

"คำวินิจฉัยที่ 29/2546 วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2546 เรื่อง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 295 กรณีนายพิเชษฐ สถิรชวาล จงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบด้วยข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อเท็จจริงที่ควรแจ้งให้ทราบ," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 121 ตอนที่ 24 ก, 30 มีนาคม 2547, 1-39.

"คำวินิจฉัยที่ 31/2546 วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2546 เรื่อง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 295 กรณีนายรักเกียรติ สุขธนะ จงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบด้วยข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อเท็จจริงที่ควรแจ้งให้ทราบ," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 121 ตอนที่ 28 ก, 23 เมษายน 2547, 1-40.

"คำวินิจฉัยที่ 7/2546 วันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2546 เรื่อง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 295 กรณีพันตำรวจโท สุรทิน พิมานเมฆินทร์ จงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบ," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 121 ตอนที่ 2 ก, 6 มกราคม 2547, 58-63.

"คำวินิจฉัยที่ 51/2547 วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2547 เรื่อง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 295 กรณีนายพูลผล อัศวเหม สมาชิกสภาผู้แทนราษฏรและเลขานุการรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี จงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบด้วยข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อเท็จจริงที่ควรแจ้งให้ทราบ," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 122 ตอนที่ 32 ก, 5 เมษายน 2548, 229-50.

"คำวินิจฉัยที่ 12/2543 วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2543 เรื่อง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 295 กรณีนายสุขุม เชิดชื่น สมาชิกวุฒิสภา จงใจไม่ยื่นเอกสารประกอบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 117 ตอนที่ 76 ก, 8 สิงหาคม 2543, 1-8.

"คำวินิจฉัยที่ 19/2544 วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2544 เรื่อง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 295 กรณีนายประยุทธ มหากิจศิริ จงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบด้วยข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อเท็จจริงที่ควรแจ้งให้ทราบ," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 119 ตอนที่ 31 ก, 3 เมษายน 2545, 1-39.

"คำวินิจฉัยที่ 10/2543 วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2543 เรื่อง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 295 กรณีนายอนันต์ ศวัสตนานนท์ จงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบ," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 117 ตอนที่ 74 ก, 2 สิงหาคม 2543, 1-6.

"คำวินิจฉัยที่ 11/2543 วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2543 เรื่อง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 295 กรณีนายชัชชัย สุเมธโชติเมธา จงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบ," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 117 ตอนที่ 74 ก, 2 สิงหาคม 2543, 62-66.

"คำวินิจฉัยที่ 23/2543 วันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2543 เรื่อง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 295 กรณีนายจิรายุ จรัสเสถียร จงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบด้วยข้อความอันเป็นเท็จ," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 118 ตอนที่ 46 ก, 25 มิถุนายน 2544, 98-107.

"คำวินิจฉัยที่ 27/2543 วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2543 เรื่อง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 295 กรณีนายโกศล ศรีสังข์ จงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบ," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 118 ตอนที่ 53 ก, 10 กรกฎาคม 2544, 88-95.

"คำวินิจฉัยที่ 28/2543 วันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2543 เรื่อง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 295 กรณีนายมะฮูเซ็น มะสุยี จงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบ," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 118 ตอนที่ 56 ก, 16 กรกฎาคม 2544, 1-7.

"คำวินิจฉัยที่ 17/2545 วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 เรื่อง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 295 กรณีนายเสวต ทองรมย์ จงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบ," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 120 ตอนที่ 3 ก, 7 มกราคม 2546, 1-7.

"คำวินิจฉัยที่ 18/2545 วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 เรื่อง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 295 กรณีนายวิทยา ศิริพงษ์ จงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบ," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 120 ตอนที่ 3 ก, 7 มกราคม 2546, 62-66.

"คำวินิจฉัยที่ 35/2545 วันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2545 เรื่อง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 295 กรณีพันตำรวจโท สานิตย์ สุรังษี จงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบ," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 120 ตอนที่ 11 ก, 6 กุมภาพันธ์ 2546, 215-19.

"คำวินิจฉัยที่ 37/2545 วันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2545 เรื่อง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 295 กรณีนายสมพงศ์ เกษตรภิบาล จงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบ และจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อเท็จจริงที่ควรแจ้งให้ทราบ,” ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 120 ตอนที่ 20 ก, 10 มีนาคม 2546, 76-82.

"คำวินิจฉัยที่ 41/2545 วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 เรื่อง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 295 กรณีนายสุบิน พิพรพงษ์ จงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบ และจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบด้วยข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อเท็จจริงที่ควรแจ้งให้ทราบ," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 120 ตอนที่ 38 ก, 6 พฤษภาคม 2546, 1-7.

"คำวินิจฉัยที่ 39/2545 วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 เรื่อง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 295 กรณีนางสาวเพ็ญนภา ไพศาลศุภนิมิต จงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบ," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 120 ตอนที่ 28 ก, 2 เมษายน 2546, 1-8.

"คำวินิจฉัยที่ 53/2545 วันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2545 เรื่อง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 295 กรณีนายสมาน ง่วนสำอางค์ จงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบ," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 120 ตอนที่ 70 ก, 21 กรกฎาคม 2546, 119-24.

"คำวินิจฉัยที่ 47/2546 วันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 เรื่อง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 295 กรณีนายอดุลย์ วงษ์พานิช จงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบ," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 121 ตอนที่ 53 ก, 23 สิงหาคม 2547, 1-7.

"คำวินิจฉัยที่ 48/2546 วันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 เรื่อง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 295 กรณีนายมงคล ตันสกุล จงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบ," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 121 ตอนที่ 53 ก, 23 สิงหาคม 2547, 82-90.

"คำวินิจฉัยที่ 50/2547 วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2547 เรื่อง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 295 กรณีนายวิฑูรย์ ภัทรเลาหะ จงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิ้นและเอกสารประกอบด้วยข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อเท็จจริงที่ควรแจ้งให้ทราบ," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 122 ตอนที่ 32 ก, 5 เมษายน 2548, 93-105.

พระราชบัญญัติสถาบันพระปกเกล้า พ.ศ. 2541 บัญญัติให้มีการจัดตั้ง “สถาบันพระปกเกล้า” เป็นนิติบุคคลอยู่ในกำกับดูแลของประธานรัฐสภา เพื่อทำหน้าที่ศึกษาและวิเคราะห์ทางวิชาการต่าง ๆ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาประชาธิปไตยอย่างเป็นระบบ ประสานงานกับหน่วยงานอื่น ๆ ด้านนโยบายเพื่อการพัฒนาประชาธิปไตย วิจัยและสนับสนุนการวิจัยเพื่อการพัฒนาประชาธิปไตย เผยแพร่และสนับสนุนการเผยแพร่ประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จัดและสนับสนุนการศึกษาอบรมบุคลากรจากภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง และการเศรษฐกิจและสังคมในระบอบประชาธิปไตย บริการข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับความรู้และผลงานวิจัย และวิชาการทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ส่งเสริมความร่วมมือกับองค์กรในประเทศและต่างประเทศ ในกิจการเกี่ยวกับการพัฒนาประชาธิปไตย รวมทั้งส่งเสริมงานวิชาการของรัฐสภา