อิทธิพลของรัฐธรรมนูญ 2560 ต่อการเมืองไทยหลัง คสช ระบอบพันทางของไทยหลังการออกแบบรัฐธรรมนูญภายใต้อิทธิพลของ คสช.

Main Article Content

ศิปภน อรรคศรี

บทคัดย่อ

“อิทธิพลของรัฐธรรมนูญ 2560 ซึ่งออกแบบภายใต้การกำกับของรัฐบาลคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ส่งผลอย่างไรต่อการเมืองไทยหลังจากเปลี่ยนผ่านสู่การเลือกตั้ง?” เพื่อตอบคำถามในข้างต้น บทความชิ้นนี้จึงอภิปรายผ่านการวิเคราะห์การเมืองรัฐธรรมนูญของรัฐธรรมนูญ 2560 ซึ่งสัมพันธ์กับความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองสู่ระบอบพันทางภายใต้การกำกับของกลไกรัฐธรรมนูญดังกล่าว โดยการเมืองรัฐธรรมนูญของรัฐธรรมนูญ 2560 นั้นสะท้อนให้เห็นความเป็นการเมืองของการเสนอข้อถกเถียงในกระบวนการออกแบบรัฐธรรมนูญภายใต้อิทธิพลของ คสช. ขณะเดียวกัน กลไกทางรัฐธรรมนูญและองค์กรภายใต้รัฐธรรมนูญไม่เพียงแต่สร้างข้อจำกัดทางอำนาจแก่ระบบรัฐสภา และทำให้สังคมการเมืองไทยเข้าสู่การเป็นระบอบพันทางที่เผชิญกับการถดถอยออกจากประชาธิปไตย แต่กลไกทางรัฐธรรมนูญก็กลับเป็นอุปสรรคต่อรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ที่สืบทอดอำนาจหลังจากการเลือกตั้ง 2562 เช่นกัน จากปัจจัยของการสูญเสียความชอบธรรมในการปกครอง และรัฐธรรมนูญได้กลายเป็นพื้นที่ต่อสู้ที่ทำให้พรรคฝ่ายค้านเติบโตภายใต้ข้อจำกัดของรัฐธรรมนูญ 2560 จนสามารถสร้างพันธมิตรกับประชาชนที่เรียกร้องประชาธิปไตย ส่งผลให้ในที่สุดแล้วฝ่ายค้านสามารถชนะการเลือกตั้งในปี 2566 ทว่าการออกจากประชาธิปไตยของระบอบพันทางยังไม่ได้จบลง แต่ยังต้องตั้งคำถามและติดตามต่อไปถึงอิทธิพลของรัฐธรรมนูญมรดกของ คสช. ที่ยังมีอิทธิพลต่อการเมืองไทยหลังจากนี้

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

หนังสือ

Ginsburg, Tom, and Alberto Simpser, “Constitutions in Authoritarian Regimes,” in Comparative

Constitutional Law and Policy, (Cambridge: Cambridge University Press, 2013), 10-11.

Levitsky, Steven and Lucan A. Way, Competitive Authoritarianism: Hybrid Regimes after the Cold War, (Cambridge: Cambridge University Press, 2010), 4-5.

Schedler, Andreas, “The Logic of Electoral Authoritarianism,” in Andreas Schedler (ed.), Electoral Authoritarianism, (Boulder, CO: Lynne Rienner Publisher, 2006), 3.

Snyder, Richard, “Beyond Electoral Authoritarianism: The Spectrum of Nondemocratic Regimes,” in Andreas Schedler (ed.), Electoral Authoritarianism: The Dynamics of Unfree Competition, (Boulder, CO:

Lynne Rienner, 2006)

เสน่ห์ จามริก, การเมืองไทยกับพัฒนาการรัฐธรรมนูญ, (กรุงเทพฯ : สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2527), 10.

บทความ

Dressel, Björn and Khemthong Tonsakulrungruang, “Coloured Judgements? The Work of the Thai Constitutional Court, 1998–2016,” Journal of Contemporary Asia, Vol. 49, No. 1 (2019), 1-23.

Ekman, Joakim, “Political Participation and Regime Stability: A Framework for Analyzing Hybrid Regimes,” International political science review, Vol. 30, No. 1 (January 2009), 7.

Geddes, Barbara, “What Do We Know About Democratization After Twenty Years?,” Annual Review of Political Science , Vol 2, No. 1 (June 1999), 115-144

Geddes, Barbara, Joseph Wright, and Erica Frantz, “Autocratic Breakdown and Regime Transitions: A New Data Set,” Perspectives on Politics, Vol. 12, No. 2 (July 2014), 313.

Kongkirati, Prajak and Veerayooth Kanchoochat, “The Prayuth Regime: Embedded Military and Hierarchical Capitalism in Thailand,” TRaNS: Trans-Regional and -National Studies of Southeast Asia, Vol. 6, No. 2 (July 2018), 279-305.

Levitsky, Steven and Lucan A. Way, “The New Competitive Authoritarianism,” Journal of Democracy,

Vol. 31, No. 1 (January 2020), 51-65.

McCargo, Duncan, “Peopling Thailand's 2015 Draft Constitution,” Contemporary Southeast Asia, Vol. 37,

No. 3 (December 2015), 339.

McCargo, Duncan, "Thailand in 2017 Politics on Hold," Asian Survey, Vol. 58, No. 1 (January-February

, 181-187.

Nogsuan Sawasdee, Siripan, “Electoral integrity and the repercussions of institutional manipulations:

The 2019 general election in Thailand,” Asian Journal of Comparative Politics, Vol. 5, No. 1

(March 2020), 52- 68.

Przeworski, Adam and Fernando Limongi, “Modernization: Theories and facts,” World politics, Vol. 49,

No. 2 (January 1997), 155-173.

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง, “เรื่องวุ่นวายของรัฐธรรมนูญไทยฉบับที่ 20,” ฟ้าเดียวกัน, ปีที่ 15, ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม- ธันวาคม 2560), 31-39.

อิเล็กทรอนิกส์

Bangprapa, Mongkol, “Six changes in constitution ,” Bangkok Post (Website), April 6, 2017,

.https://www.bangkokpost.com/thailand/general/1228183/six-sections-changed-in-constitution

The Standard, “ปฏิญญาแลงคาสเตอร์ 6 พรรคลงสัตยาบัน รวมเสียง 7 พรรค 256 ที่นั่ง ต้านสืบทอดอำนาจ รุมบี้

กกต. เปิดผลเลือกตั้ง,” 27 มีนาคม 2562, https://thestandard.co/thailandelection2562-pheu-thai-

coalition-ratification-2/

Workpoint Today, “ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญมาจากไหน?,” 24 พฤษภาคม 2562, https://workpointtoday.com

/ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญมา/

คมชัดลึกออนไลน์, “หมอประเวศเสนอแนวINNปฏิรูป10ด้านพาไทยรอด,” 11 กันยายน 2552,

https://www.komchadluek.net/news/28160

ฐานเศรษฐกิจ, “ย้อนรอย 72 วัน อวสาน MOU 8 พรรคร่วมรัฐบาลก้าวไกล,” 3 สิงหาคม 2566,

https://www.thansettakij.com/thailand-elections/insight-election/572378

ณัชปกร นามเมือง, “แนวคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญคดีหุ้นสื่อ ถือหุ้นจริง + ทำสื่อจริง = มีความผิด,”

ไทยรัฐ พลัส, 2566, https://plus.thairath.co.th/topic/speak/103290

ไทยพีบีเอส, “ด่วน ! ศาลรัฐธรรมนูญ รับวินิจฉัย "ปมหุ้นสื่อ" สั่ง "พิธา" หยุดปฏิบัติหน้าที่ ส.ส.,” 19 กรกฎาคม

, https://www.thaipbs.or.th/news/content/329819

บีบีซีไทย, (เว็บไซต์), “ไทยรักษาชาติ : ย้อนคำตัดสินศาล รธน. ยุบ 2 พรรคทักษิณ ก่อนตัดสิน ทษช. 7 มี.ค.,”

มีนาคม 2562, https://www.bbc.com/thai/thailand-47459168

บีบีซีไทย (เว็บไซต์), “พลังประชารัฐ : กลุ่ม "4 กุมาร" ลาออกจากสมาชิก พปชร. แต่ยังไม่ทิ้งเก้าอี้ รมต.

ไม่คิดตั้งพรรคใหม่,” 9 กรกฎาคม 2563, https://www.bbc.com/thai/thailand-53344161

บีบีซีไทย, “สภาล่มตามคาด ปิดม่านสูตรหาร 500 กลับไปใช้สูตรหาร 100 ,” 15 สิงหาคม 2565,

https://www.bbc.com/thai/articles/cgx0pykkp35o

ประชาไท, “‘วิษณุ’ เผยสูตรบริหารเวลา ‘6+4+6+4’ โรดแมป-กรรมการร่าง รธน. ใหม่,” 7 กันยายน 2558,

https://prachatai.com/journal/2015/09/61289

ประชาไท, “‘กลุ่มสามมิตร’ คือใคร? 'ประวิตร' ชี้หนุน 'ประยุทธ์' นั่งนายกก็เรื่องของเขา,” 2561,

https://prachatai.com/journal/2018/07/77682

โพสต์ทูเดย์ (เว็บไซต์), “ย้อนตำนาน นายกฯมาตรา 7,” 5 ธันวาคม 2556,

https://www.posttoday.com/politics/263033

มติชนสุดสัปดาห์ (เว็บไซต์), ““มีชัย ฤชุพันธุ์” บันทึกไว้กันลืม กว่าจะเป็นรธน.ฉบับ’60 “เคราะห์กรรมมาถึงตัว

เราอีกแล้วหรือนี่”,” 14 มิถุนายน 2566, https://www.matichonweekly.com/special

-scoop/article_685245

มติชนออนไลน์, “สปท.เอาจนได้! มติส่งคำถาม ให้ส.ว.สรรหาโหวตนายกฯ นิกร-กษิต รุมค้านแต่ไม่สำเร็จ,”

เมษายน 2559, https://www.matichon.co.th/politics/news_92334

ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน, “รัฐธรรมนูญใหม่ประกาศใช้ แต่ “ผู้ต้องหาประชามติ” กว่า 104 ราย

ยังถูกดำเนินคดี,” 2560, https://tlhr2014.com/archives/3924

สมชาย ปรีชาศิลปะกุล, “ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับมาตรา 7 และนายกฯ พระราชทาน,” ประชาไท, 2556,

https://prachatai.com/journal/2013/12/50264

สำนักข่าวอิศรา (เว็บไซต์),, “จัดตั้ง รบ. ฝ่าย พปชร. 254 เสียง vs ฝ่ายเพื่อไทย 246 เสียง,” 4 มิถุนายน 2562,

https://www.isranews.org/content-page/item/77192-infographicc-77192.html

ไอลอว์, “สแกน สปท. มีงบปฏิรูปพันล้าน แต่ได้ข้อเสนอซ้ำ นามธรรม แถมถูกสังคมคัดค้าน,” 2560,

https://ilaw.or.th/node/4577

ไอลอว์, “คสช. คืออะไร?,” 2561, https://ilaw.or.th/node/4735

ไอลอว์, “8 ปี คสช. สภาแต่งตั้งเลือกสรรคนไปเป็น “องค์กรตรวจสอบ”,” 2565, https://ilaw.or.th/node/6157

ไอลอว์, “ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่ส.ว.ชุดพิเศษแต่งตั้ง จะเริ่มทยอยหมดวาระในปี 2570,” 2566,

https://ilaw.or.th/node/6592

ไอลอว์, “"ผู้นำฝ่ายค้าน" บทบาทสำคัญ ตั้งไม่ได้ก็รอต่อไป,” 2566” https://ilaw.or.th/node/6643

รายงานการประชุม

บันทึกการประชุมคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 8, 20 พฤศจิกายน 2557, 4-8

บันทึกการประชุมคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 10, 25 พฤศจิกายน 2557, 5-6.

บันทึกการประชุมคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 11, 27 พฤศจิกายน 2557, 4-11

บันทึกการประชุมคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 12, 2 ธันวาคม 2557, 8.

บันทึกการประชุมคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 12, 2 ธันวาคม 2557, 13.

บันทึกการประชุมคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 14, 4 ธันวาคม 2557, 8-9.

บันทึกการประชุมคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 16, 9 ธันวาคม 2557, 5-6.

บันทึกการประชุมคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 17, 11 ธันวาคม 2557, 8-10.

บันทึกการประชุมคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 18, 12 ธันวาคม 2557, 5-14.

บันทึกการประชุมคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 18, 12 ธันวาคม 2557, 19.

บันทึกการประชุมคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 18, 12 ธันวาคม 2557, 40.

บันทึกการประชุมคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 21, 18 ธันวาคม 2557, 22

บันทึกการประชุมคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 21, 18 ธันวาคม 2557, 35.

บันทึกการประชุมคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 22, 19 ธันวาคม 2557, 9.

บันทึกการประชุมคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 22, 19 ธันวาคม 2557, 18-23.

บันทึกการประชุมคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 24, 23 ธันวาคม 2557, 19.

สรุปการประชุมคณะอนุกรรมการศึกษาโครงสร้างฝ่ายนิติบัญญัติ ในคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 9,

พฤศจิกายน 2558.

สรุปผลการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 4, 9 ตุลาคม 2558, 1-2.

สรุปผลการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 8, 15 ตุลาคม 2558, 1-2

สรุปผลการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 14. 26 ตุลาคม 2558, 3.

สรุปผลการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 16, 28 ตุลาคม 2558.

สรุปผลการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 17, 29 ตุลาคม 2558.

สรุปผลการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 20, 3 พฤศจิกายน 2558, 2.

สรุปผลการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 21. 4 พฤศจิกายน 2558, 1

สรุปผลการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 26, 11 พฤศจิกายน 2558, 1-2

สรุปผลการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 51. 24 ธันวาคม 2558, 1-2.

สรุปผลการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 55. 4 มกราคม 2559.

สรุปผลการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 62. 13 มกราคม 2559.

สรุปผลการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 63. 14 มกราคม 2559.

สรุปผลการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ,, ครั้งที่ 99, 7 มีนาคม 2559.

สรุปผลการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 167, 24 สิงหาคม 2559.

สรุปผลการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 175, 12 กันยายน 2559.

สรุปผลการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 177, 14 กันยายน 2559.

สรุปผลการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 178, 19 กันยายน 2559.

สรุปผลการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 192, 10 ตุลาคม 2559

สรุปผลการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 200, 28 ตุลาคม 2559.

สรุปผลการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 241,10 มกราคม 2560.

สรุปผลการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ, ครั้งที่ 364, 4 สิงหาคม 2560.

กฎหมาย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557, มาตรา 32

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557, มาตรา 34

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557, มาตรา 35

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557, มาตรา 36

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, มาตรา 32.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, มาตรา 91.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, มาตรา 98.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, มาตรา 101.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, มาตรา 107.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, มาตรา 150.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, มาตรา 151.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, มาตรา 155.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, มาตรา 204.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, มาตรา 217.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, มาตรา 224.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, มาตรา 226.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, มาตรา 235.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, มาตรา 244.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, มาตรา 256.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, มาตรา 257.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, มาตรา 266.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, มาตรา 269.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, มาตรา 272.