การจัดการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรืยนเป็นสำคัญ รายวิชา กฎหมายและมาตรฐานอาหาร : กรณืศึกษา คุณภาพและมาตรฐานด้านจุลินทรีย์ของผลิตภัณฑ์อาหาร ของฝากจากจังหวัดเชียงใหม่

Authors

  • นักสิทธิ์ ปัญโญใหญ่ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

DOI:

https://doi.org/10.14456/rcmrj.2012.96103

Keywords:

ผู้เรียนเป็นสำคัญ, กฎหมายและมาตรฐานอาหาร, ผลิตภัณฑ์อาหารของฝาก, student centre, food standard and regulation, local food products

Abstract

การวิจัยนื้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ รายวิชา กฎหมายและมาตรฐานอาหาร : กรณีศึกษา คุณภาพและมาตรฐานด้านจุลินทรีย์ของผลิตภัณฑ์อาหารของฝากจากจังหวัดเชียงใหม่ และ เฝืาระวังคุณภาพและมาตรฐานด้านจุลินทรีย์ของผลิตภัณฑ์อาหารที่เป็นของฝากที่จำหน่ายในตลาดวโรรส ผลการวิจัยเชิงสำรวจและการเรียนการสอนแบบสืบสวนสอบสวน พบว่า ผลิตภัณฑ์ที่มีความเสี่ยงต่อการเจริญของเชื้อจุลินทรีย็!นปริมาณมากเกินกว่ามาตรฐาน ได้แก่ กล่มเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ และกลุ่มน้ำพริก แต่ทุกผลิตภัณฑ์มีปริมาณจุลินทรีย็กอโรคผ่านเกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ความเสี่ยงของผลิตภัณฑ์อาหารที่เป็นของฝากที่จำหน่ายในตลาดวโรรสมีความเสี่ยงและอันตรายทางด้านจุลชีววิทยาในระดับตา ผู้สอนได้ประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยใช้วิธีการที่หลากหลาย ได้แก่ สังเกตจากกระบวนการทำงานกลุ่ม การทำแบบทดสอบ การทำแฟ้มสะสมผลงาน การทำรายงานกลุ่ม การนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน รวมทั้งการแก้ปัญหาหรือกรณีศึกษา พบว่านักศึกษาให้ความสนใจการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญและนักศึกษาส่วนใหญ่มีการพัฒนากระบวนการเรียนรู้อยู่ในระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 82.26

Student Centre of Food Standard and Regulation Case Study of Microbial Food Quality and Standard of Local Food Products from Chiang Mai Province

This research had the objectives to student centre of food standard and regulations case study of local food products from Chiang Mai province and to monitor the microbial quality and standard of local food products at Kad-Luang. The result of the survey research and inquiry teaching revealed that the total plate count of meat and meat products and Nam Prick had higher than the Thai Community Standards. เท contrast, the pathogenic bacteria of all products confronted to the requirement of Thai Community Standards. When the risk assessment were determined, the resulted indicated that the local food sold in Kad-Luang was low in microbial risk. The lecturer evaluated the domain of learning using multi tasks for example observation of group working, practice tests, portfolio, group reports, oral presentation, and problem solving or case study. The results showed that students were interested in the student center and the domain of learning of most students were progressed.



Downloads

How to Cite

ปัญโญใหญ่ น. (2012). การจัดการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรืยนเป็นสำคัญ รายวิชา กฎหมายและมาตรฐานอาหาร : กรณืศึกษา คุณภาพและมาตรฐานด้านจุลินทรีย์ของผลิตภัณฑ์อาหาร ของฝากจากจังหวัดเชียงใหม่. Community and Social Development Journal, 13(1), 81–94. https://doi.org/10.14456/rcmrj.2012.96103

Issue

Section

บทความวิจัย (RESEARCH ARTICLE)