การพัฒนาพฤติกรรมต้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชกัฏเชียงใหม่ โตยใช้วิธีการสอนแบบกระบวนการกลุ่ม

Authors

  • ดวงเดือน เทพนวล คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

DOI:

https://doi.org/10.14456/rcmrj.2013.96153

Keywords:

ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล, ความรับผิดขอบ, วิธีการสอนแบบกระบวนการกลุ่ม, Interpersonal relationships, Responsibility, Group process teaching technique

Abstract

การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นกระบวนการกลุ่มถูกนำมาใซในการพัฒนาพฤติกรรมด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบของนักศึกษามหาวิทยาลัยราซภัฏเชียงใหม่ ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน ภาคเรียนที่ 1/2555 จำนวน 102 คน ดำเนินการวิจัยโดยจัดกิจกรรมกลุ่มจำนวน 6 กิจกรรม สอดแทรกไปกับการเรียนการสอนปกติ แล้วเก็บข้อมูลจากการสังเกตและประเมินพฤติกรรมของนักศึกษาที่แสดงออกในด้านการมีปฏิสัมพันธ์ การทำงานเป็นทีม และความรับผิดขอบ ผลการดำเนินกิจกรรมพบว่า กิจกรรมแรกนักศึกษาแสดงพฤติกรรมอยู่ในระดับปานกลาง ด้วยคะแนนเฉลี่ย 1.7 และพัฒนาจนเป็นระดับมากที่สุดเมื่อทำกิจกรรมที่ 4 ด้วยคะแนนเฉลี่ย 2.8 ในกิจกรรม 2 ครั้งสุดท้าย ระดับการแสดงพฤติกรรมคงอยู่ในระดับมาก ด้วยคะแนนเฉลี่ย 2.3 แสดงให้เห็นถึงผลของการฝึกปฏิบติอย่างต่อเนื่องจนเกิดเป็นลักษณะนิสัยที่ติดตัวนักศึกษาไป จากข้อมูลการประเมินตนเองของนักศึกษา พบว่ารายการประเมินที่นักศึกษามีความเห็นว่าตนเองได้รับการพัฒนา 5 อันดับแรก คือ 1. การมีมนุษยสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานดีฃึ้น 2. รู้จักรับฟ้งความคิดเห็นของผู้อื่น 3. ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นที่ไม่เคยรู้จักมาก่อนได้ 4. มีความสุข-สนุกกับการทำงานกลุ่มภูมิใจในผลสัมฤทธึ๋ฃองงาน และ 5. มีความเอาใจใส่ต่องานกลุ่มมีส่วนร่วมในการทำงาน คิดเป็นร้อยละ 91, 91, 88, 85 และ 80 ตามลำดับ กิจกรรมกลุ่มมีผลทำให้นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อการทำงานร่วมกับผู้อื่น เรียนรู้ถึงการแบ่งหน้าที่ทำงานตามความสามารถของแต่ละคน รวมถึงแสดงความรับผิดขอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองได้อย่างเหมาะสม

THE DEVELOPMENT OF INTERPERSONAL REU\TIONSHIPS AND RESPONSIBILITY OF CHIANG MAI RAJABHAT UNIVERSITY STUDENTS BY USING GROUP PROCESS TEACHING TECHNIQUE

Group process teaching technique was used in order to develop the interpersonal relationships and the responsibilities of 102 Chiang Mai Rajabhat University students, who enrolled in Science and Technology in Everyday Life course during the first semester of 2555. Six group activities were interpolated to the usual teaching activity in the classroom. The students’ behaviors as an interaction, teamwork and responsibilities were observed and evaluated. The result showed that the moderate level of student behaviors was found in the first activity with 1.7 average score. The consistent increase of the average score was seen while the later activities were performed. The average score of the fourth activity was about 2.8, indicated the highest level score. However, the average score of two lasted activities, having high level score of 2.3, was showed. This demonstrates that the permanent characteristics can be achieved with the continuous practicing. Based on the students’ self-assessment, five top developed behaviors were ranking as(1) better relationships with colleagues, (2) learning to get the opinion of others, (3) able to work with other who never known, (4) enjoy working in group activity, pride in the achievement of the work and (5) attention to participate in the work group. The corresponding percentages of those assessments were 91, 91, 88, 85 and 80 respectively. Moreover, group activities allow students to have a positive attitude towards working with others, learning to management in the group according to ability of the members and responsible for their roles properly.

Downloads

How to Cite

เทพนวล ด. (2013). การพัฒนาพฤติกรรมต้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชกัฏเชียงใหม่ โตยใช้วิธีการสอนแบบกระบวนการกลุ่ม. Community and Social Development Journal, 14(2), 97–108. https://doi.org/10.14456/rcmrj.2013.96153

Issue

Section

บทความวิจัย (RESEARCH ARTICLE)