ปึจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การมหาวิทยาลัยราชภัฏ

Authors

  • พิทยาภรณ์ มานะจุติ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

DOI:

https://doi.org/10.14456/rcmrj.2014.96170

Keywords:

ปัจจัยที่ส่งผล, ประสิทธิผล, มหาวิทยาลัยราชภัฏ, Factors affecting, Effectiveness, Rajabhat Universities

Abstract

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิผลกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ผู้ให้ข้อยูล ได้แก่ ผู้บริหารระดับคณบดีและรองคณบดี 210 คน อาจารย์ผู้สอน 348 คน และนักศึกษาชั้นปีที่สี่ 479 คน จากมหาวิทยาลัยราซภัฏ 21 แห่ง พบว่า ประสิทธิผลขององค์การของมหาวิทยาลัยราชภัฏจากการประเมินในปี 2553 มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับดี ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การ พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางตรง ได้แก่ คุณภาพของบุคลากร ส่วนปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางอ้อม ได้แก่ ลักษณะองค์การ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและนโยบายการบริหารและการปฏิบัติงาน ตัวแปรทุกตัว มีความสัมพันธ์ในทิศทางบวกโดยสมบูรณ์กับประสิทธิผลองค์การผ่านตัวแปรคุณภาพบุคลากร

FACTORS AFFECTING THE ORGANIZATION EFFECTIVENESS OF RAJABHAT UNIVERSITIES

This description research aimed to study the organization effectiveness and factors affecting the organization effectiveness of Rajabhat Universities. The informant were 210 Dean and Vice-Dean, the sample consisted of 348 faculty members and 479 fourth year undergraduate students from 21 Rajabhat Universities. The research found that the organization effectiveness in the year 2010 was 3.09 average point at good level. The factors directly related to the organization effectiveness was the quality of human resources where as the characteristic of the organization, the use of information and technology and administrative policies and practices were indirectly related. All dependent variables completely had positive direct relationship to the organization effectiveness through the quality of human resources.

Downloads

How to Cite

มานะจุติ พ. (2014). ปึจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การมหาวิทยาลัยราชภัฏ. Community and Social Development Journal, 15(1), 85–95. https://doi.org/10.14456/rcmrj.2014.96170

Issue

Section

บทความวิจัย (RESEARCH ARTICLE)