การศึกษาการพยากรณ์กับการให้คำปรึกษาเชิงพุทธ เพื่อบำบัดความเครียดของผู้มารับบริการจากสมาคมโหรภาคเหนือ
DOI:
https://doi.org/10.14456/rcmrj.2014.96175Keywords:
การพยากรณ์, การให้คำปรึกษาเชิงพุทธ, การบำบัดความเครียด, Prophecy, Buddhist Counseling, Stress TherapyAbstract
งานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาการพยากรณ์กับการให้คำปรึกษาเชิงพุทธเพื่อบำบัดความเครียดของผู้มารับบริการจากสมาคมโหรภาคเหนือ” มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ (1) เพื่อศึกษาแนวคิดและทฤษฎีการพยากรณ์ (2) เพื่อศึกษาแนวคิดและทฤษฎีการให้คำปรึกษาเชิงพุทธเพื่อบำบัดความเครียด (3) เพื่อบูรณาการผลการพยากรณ์กับการให้คำปรึกษาเชิงพุทธเพื่อบำบัดความเครียดของผู้มารับบริการจากสมาคมโหรภาคเหนือ กลุ่มตัวอย่างคือผู้ที่มาใช้บริการจากสมาคมโหรภาคเหนือจำนวน 30 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสัมภาษณ์ ด้วยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ผลการวิจัยปรากฏดังนี้
1. แนวคิดและทฤษฎีการพยากรณ์ปรากฏอยู่ในคัมภีร์พระพุทธศาสนา หลายสถานที่ เวลาและบุคคล เช่น การพยากรณ์ลำดับพุทธวงศ์ พระพุทธเจ้าทรงพยากรณ์พระสุบินของพระองศ์เอง พระพุทธเจ้าทรงพยากรณ์พระสุบินของพระเจ้าปเสนทิโกศล เป็นต้น การนำเอาแนวคิดและทฤษฎีมาประยุกต์ใช้ในการทำนาย คาดการณ์โดยผู้ที่ทำหน้าที่ในการพยากรณ์จะเป็นโหราจารย์ หรือบุคคลผู้ที่มืความสนใจในศาสตร์การพยากรณ์ มีการนำเอาเทคโนโลยีเช้ามาใช้เป็น เครื่องมือในการพยากรณ์กันอย่างแพร่หลาย การพยากรณ์มีความเป็นมาก่อนพระพุทธศาสนา ผสมผสานความเชื่อดั้งเดิมกับดาราศาสตร์ เทววิทยา มีอิทธิพลจากศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ที่ว่าด้วยการทำนาย คาดการณ์ ที่บอกให้รู้ถึงเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นทั้งเรื่องของเหตุการณ์ธรรมชาติ สังคมและวิถีชีวิตของบุคคล ซึ่งจากเหตุการณ์เหล่านี้เป็นเหตุให้การพยากรณ์มีอิทธิพลต่อความเชื่อของพุทธบริษัทในทุกด้านของการดำเนินชีวิตประจำวัน เซ่น ด้านสุขภาพ ด้านครอบครัว ด้านการศึกษาด้านการเงินและด้านการงาน มาจนถึงปีจจุบัน
2. แนวคิดและทฤษฎีการให้คำปรึกษาเชิงพุทธเพื่อบำบัดความเครียด นำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาประยุกต่ใช้กับผู้มีปัญหาด้านสุขภาพใช้หลักไตรลักษณ์ ทาน ศีล ภาวนา และหลักจริต 6 ด้านครอบครัวใช้หลักลังคหวัตถุ 4 ด้านการศึกษาใช้หลักอิทธิบาท 4 ด้านการเงินใช้หลักทิฎฐธัมมิกัตถประโยชน์ และด้านการงานใช้หลักมิจฉาวณิชซา เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีตัวอย่างของบุคคลผู้มีปัญหาความเครียดที่ปรากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนา เซ่น พระนางกีสาโคตมีเถรี พระนางเขมาเถรีพระนางปฏาจาราเถรี และพระองคุลิมาล เป็นต้น ซึ่งได้รับการให้คำปรึกษาจากพระพุทธเจ้า และได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ในเวลาต่อมา
3. การบูรณาการผลการพยากรณ์กับการให้คำปรึกษาเชิงพุทธเพื่อบำบัดความเครียดของผู้มาใช้บริการจากสมาคมโหรภาคเหนือ เพื่อต้องการบำบัดทุกข์ ให้กับผู้ที่ประสบปัญหาความเครียด จากการดำเนินชีวิตประจำวันในด้านต่างๆ พบว่าผู้มารับบริการนำหลักไตรลักษณ์ หลักจริต 6 เพื่อบำบัดความเครียดด้านสุขภาพ หลักลังคหวัตถุ 4 เพื่อบำบัดความเครียด ด้านครอบครัว หลักอิทธิบาท 4 เพื่อบำบัดความเครียดด้านการศึกษา หลักทิฎฐธัมมิกัตถประโยชน์ เพื่อบำบัดความเครียด ด้านการเงิน หลักมิจฉาวณิชซาเพื่อบำบัดความเครียดด้านการ ตามหลักการ กระบวนการ และวิธีการ
A STUDY OF PROPHECY AND BUDDHIST COUNSELING FOR STRESS THERAPY AT THE ASTROLOGICAL ASSOCIATION OF NORTHERN THAILAND
The research entitled “A study of Prophecy and Buddhist Counseling for Stress Therapy of the Service Taker from the Astrological Association o f Northern Thailand” consists o f 3 objectives: 1) to study the concept and the theory of prophecy; 2) to study the concept o f the Buddhist counseling for stress therapy and 3) to integrate the result of prophecy with the Buddhist counseling for stress therapy o f the service taker from the Astrological Association o f Northern Thailand. The samples are 30 people who took services from the Astrological Association o f Northern Thailand, taken by simple random sampling. The to o l used in the research is interview form with in-depth interview. The research findings reveled as follows:
1. The concept and theory o f prophecy appeared in the Buddhism scripture in many places, times and persons. For example, to prophesy sequence o f Buddhas, the Lord Buddha prophesied His dream; the Lord Buddha prophesied a dream o f King Pasenti Kosol, etc. Application of concept and theory for prediction, the persons who work with this career are called the astrologer or the persons who are interested in the forecasting science, applying technology as a to o l for forecasting extensively. Regarding to the prophecy, it originated before Buddhism. It is a combination of the traditional belief and astronomy and theology, influenced from Brahmanism and Hinduism on prediction that can describe the situation to happen- natural phenomena, social and of individual events. These events cause the prophecy to influence the Buddhist’ s faith in every respect of daily living, such as health, family, education, finance and works, until today.
2. The concept and theory of Buddhist counseling for stress therapy applied the Buddhist doctrines to those who had health problems, using principle o f Trilak (the three characteristics of existence), alms-giving, keeping the precepts, practicing meditation, and principle of Carita 6 or intrinsic natures of a person; for family, using the principle of Sangahavatthu 4 of Base of sympathy; for education, using the principle o f Iddhipada 4 or the Four paths o f Accomplishment; for finance, using the principle o f Ditthadhammikattha or benefits obtainable here and now; and for work, using the principle of wrong dharma. เท addition, there were examples of those who had the problem, appearing in Buddhism scripture, such as Kisa Gotami Theri, Khema Theri, Patacara Theri and Angulimala, etc. They all got counseling from the Lord Buddha and later attained the Arahantship.
3. Integration o f the results of prophecy and the Buddhist counseling for stress therapy of the service taker from the Astrological Association of Northern Thailand for the purpose of eliminating sufferings o f those who have tro u b le in daily life was found th a t the service takers applied the principle of Trilak and principle of Carita 6 to treat the stress on health, principle of Sangahavatthu 4 to treat the stress on family, principle o f Iddhipada 4 to treat the stress on education, principle of Ditthadhammikattha to treat the stress on finance, principle of wrong dharma to treat the stress on working according to the principles, processes and methods.
Downloads
How to Cite
Issue
Section
License
1. Articles, information, content, images, etc. that are published in "Chiang Mai Rajabhat Research Journal" is the copyright of Chiang Mai Rajabhat Research Journal. Chiang Mai Rajabhat University. If any person or organization wants to distribute all or any part of it or do any action Must have written permission from the Chiang Mai Rajabhat Research Journal, Chiang Mai Rajabhat University.
2. Content of articles appearing in the journal is the responsibility of the author of the article. The journal editor is not required to agree or take any responsibility.