A STUDY OF NURSING TEAMWORK FOR CRITICALLY ILL PATIENTS : A CASE STUDY OF NEUROSURGERY AND TRAUMATIC WARD, GOVERNMENT HOSPITAL IN BANGKOK
DOI:
https://doi.org/10.14456/rcmrj.2014.96176Keywords:
teamwork, critically ill patients, nursing teamwork, การทำงานเป็นทีม, ผู้ป่วยหนัก, ทีมงานพยาบาลAbstract
The objective of this research was to study and understand the structure of nursing teamwork for critically ill patients. To study the process of team activities and team efficiency of government hospital in Bangkok, using qualitative studying in an individual case study to comprehensive the characteristic and processes of the system. Also, the quantitative study information will support the qualitative study for destination. The sampling of study was nurses at neurosurgical and traumatic ward of public hospital in Bangkok. The study concentrated on one ward with the corporate teamwork especially the nurses must have efficiency to take care of the patients for a better quality and conveniences in nursing. The safety came first and satisfy was a major issue. The research tools that will be used such as interviews, observations and data surveys of teamwork which developed by Gloria E. Bade teamwork. The researcher got the information and adapted to nurse organization. Qualitative data analysis interpreted the characteristic and process of case study or nursing teamwork. เท addition, to understand the meaning of the information by the interviewees that indicated self-identity of them, related to the characteristic and the process of teamwork.
The qualitative data analysis was the analysis for infrequency and average value and merged the result with quantitative data analysis for a better quality data of research. The research found that nursing teamwork have individual structure and activities related with the working planning for the best quality of nursing. The teamwork processes had the systemic step by step and the schematic interpreted by the idea or the step of teamwork. This study explored the teamwork relationship, through the efficiency of teamwork. A research study expressed that the teamwork was a major key of nursing and service in the hospital.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการทำงานเป็นทีมของทีมการพยาบาลผู้ป่วยหนัก โดยมุ่งศึกษาในประเด็น ของโครงสร้างของทีมงาน ขั้นตอนในการสร้างทีมงาน และกิจกรรมต่างๆ ของทีมงาน ซึ่งเกี่ยวข้องกับการพัฒนาทีมการพยาบาลเพื่อการดูแลผู้ป่วยหนัก และศึกษาประสิทธิผลของการทำงานเป็นทีมของทีมการพยาบาลโรงพยาบาลแห่งหนึ่งของรัฐในเขตกรุงเทพมหานคร ใช้วิธีการศึกษาเซิงคุณภาพ แบบการศึกษาเฉพาะกรณี เพื่อทำความเช้าใจเกี่ยวกับคุณลักษณะและกระบวนการอย่างเป็นระบบ และเก็บข้อมูลเซิงปริมาณเพื่อสำรวจความคิดเห็นของทีมการพยาบาลที่มีต่อผลสำเร็จของทีมงานและประสิทธิผลของการประขุมหรือรวมกลุ่มทีมงาน ทั้งนี้เพื่อให้ได้ผลการวิจัยที่ซัดเจนและตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัยให้ ครบถ้วน ผู้วิจัยได้ทำการเลือกกรณีศึกษาที่เป็นทีมงานพยาบาล ภายในหอผู้ป่วยศัลยกรรมประสาทและอุบัติเหตุ โรงพยาบาลแห่งหนึ่งของรัฐในเขตกรุงเทพมหานคร การเก็บข้อมูลใช้วิธีการสัมภาษณ์ การสังเกตและการสำรวจการทำงานเป็นทีมโดยใช้แบบสอบถามการทำงานเป็นทีมที่พัฒนาโดย Gloria E. Bade การวิเคราะห์ข้อมูลเซิงคุณภาพใช้การตีความลักษณะ และกระบวนการของกรณีศึกษา หรือการทำงานเป็นทีมการพยาบาล เพื่อทำความเข้าใจความหมายของข้อมูล ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเซิงปริมาณ เป็นแจกแจงความถี่ และค่าเฉลี่ย เพื่อใช้ในการอภิปรายร่วมกับข้อมูลเซิงคุณภาพ
ผลการวิจัยพบว่า การทำงานเป็นทีมการพยาบาล มีโครงสร้างการทำงานของแต่ละบุคคลและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนการทำงานที่มีคุณภาพ กระบวนการทำงานเป็นทีม มีระบบและขั้นตอนซัดเจน โดยขั้นตอนและวงจร การทำงานเป็นทีม เกิดจากแนวคิดของทีมงาน และจากการสำรวจ ความสัมพันธ์ของทีมงาน และประสิทธิภาพของการทำงานเป็นทีม แสดงให้เห็นว่า การทำงานเป็นทีมเป็นกุญแจสำคัญของการพยาบาลและการให้บริการในโรงพยาบาล
Downloads
How to Cite
Issue
Section
License
1. Articles, information, content, images, etc published in the “Community and Social Development Journal” are copyrighted by the Community and Social Development Journal, Chiang Mai Rajabhat University. In order to properly distribute the articles through print and electronic media, the authors still hold the copyright for the published articles under the Creative Commons Attribution (CC BY) license, which allows the re-distribution of the articles in other sources. References must be made to the articles in the journal. The authors are responsible for requesting permission to reproduce copyrighted content from other sources.
2. The content of the articles appearing in the journal is the direct responsibility of the article authors. The editorial board of the journal does not necessarily agree with or share any responsibility.