การจัดการทรัพยากรน้ำเชิงบูรณาการแนวพุทธ : กรณีศึกษากลุ่มอนุรักษ์ลุ่มน้ำปิง จังหวัดเชียงใหม่
DOI:
https://doi.org/10.14456/rcmrj.2014.96181Keywords:
การจัดการทรัพยากรนํ้า, การจัดการทรัพยากรนํ้าเชิงบูรณาการแนวพุทธ, กลุ่มอนุรักษ์ลุ่มนํ้าปิง, Water Resources Management, Buddhism Integrated Water Resources Management, Ping River Conservation OrganizationAbstract
การศึกษาวิจัยเรื่อง “การจัดการทรัพยากรนํ้าเชิงบูรพาการแนวพุทธ: กรณีศึกษากลุ่มอนุรักษ์ลุ่มน้ำปิง จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์ 3 ข้อ คือ เพื่อศึกษาการจัดการทรัพยากรนํ้าตามหลักพระพุทธศาสนา เพื่อศึกษาการจัดการทรัพยากรนํ้าของกลุ่มอนุรักษ์ลุ่มนํ้าปิง จังหวัดเชียงใหม่ และเพื่อศึกษาการจัดการทรัพยากรนํ้าเชิงบูรณาการแนวพุทธของกลุ่มอนุรักษ์ลุ่มนํ้าปิงจังหวัดเชียงใหม่ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงเอกสารและเชิงคุณภาพ แล้วนำมาวิเคราะห์ให้เห็นกระบวนการจัดการทรัพยากรน้ำ ผลการศึกษาพบว่า การจัดการทรัพยากรนํ้าตามหลักพระพุทธศาสนา เป็นการจัดการทรัพยากรนํ้าให้คุ้มค่าและให้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และต้องอิงอาศัยการจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่เป็นเหตุปัจจัยให้เกิดทรัพยากรนํ้าด้วย ส่วนความสำคัญของทรัพยากรนํ้า ได้แก่ มีความสัมพันธ์ในแง่พึ่งพาอาศัยกับทรัพยากรชนิดอื่น เซ่น ป่าไม้ ในลักษณะปฏิจจสมุปบาท:สิ่งที่อาศัยกันเกิดขึ้น ภาวะของสิ่งที่ไม่เป็นอิสระของตนต้องอาศัยกันและกันจึงเกิดขึ้นได้ เพราะสิ่งนี้มีสิ่งนี้จึงมีการจัดการทรัพยากรนํ้ามีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตให้มีนํ้าใช้อุปโภคบริโภคอย่างเพียงพอ มีความสำคัญในแง่การจัดการเพื่อเกษตรกรรมและเป็นสถานที่รื่นรมย์ พักผ่อนหย่อนใจ และแสดงออกโดยผ่านหลักพุทธธรรม พระวินัย คาสนพิธี และบทบาทของพระสงฆ์การจัดการทรัพยากรนํ้าของกลุ่มอนุรักษ์ลุ่มนํ้าปิง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นการจัดการทรัพยากรนํ้าร่วมกันระหว่างหน่วยงานของรัฐหน่วยงานเอกซน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กลุ่มชุมชนลุ่มนํ้าปีง และพระสงฆ์เช้ามามีส่วนร่วม โดยเห็นว่าทรัพยากรนํ้าเป็นของสาธารณะจึงมีการจัดการทรัพยากรนํ้าร่วมกัน มีการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ประเพณีพิธีกรรมต่างๆ และใช้อำนาจรัฐในการจัดการทรัพยากรนํ้า การจัดการทรัพยากรนํ้าเชิงบูรณาการแนวพุทธของกลุ่มอนุรักษ์ลุ่มนํ้าปิง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นการจัดการแบบบูรณาการโดยใช้หลักพุทธธรรม อำนาจรัฐ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และกระบวนการชุมชนในการจัดการทรัพยากรนํ้าเพื่อให้มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์ร่วมกันทุกฝ่าย ส่วนรูปแบบการจัดการทรัพยากรนํ้าเชิงบูรณาการที่มีประสิทธิภาพนั้น ควรสร้างคุณธรรมในจิตใจ ใช้กฎหมายควบคุมพฤติกรรม ดำเนินงานแบบเครือข่ายและสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น
BUDDHISM INTEGRATED WATER RESOURCES MANAGEMENT: A CASE STUDY OF THE PING RIVER CONSERVATION ORGANIZATION, CHIANG MAI PROVINCE
The dissertation entitled “ Buddhism Integrated Water Resources Management: A Case study of the Ping River Conservation Organization, Chiang Mai Province” . Consists of 3 objectives as: to study the concept of water management based on the Buddhist principle, to explore the water management of the Ping River Conservation Organization in Chiang Mai province and to investigate the Buddhism integrated in water resources management of the Ping River Conservation Organization. This research was involved with two research methodologies, the documentary research and the qualitative research. The data were analyzed to be the process of the water management resources and its results were as follows: The water resources management in line with the Buddhist principle, it is the management of water resources and uses them for the maximum benefit and it depends on the forest resources management: an aggravating factor to the water resources. The importance of water resources is related to other resources such as the forest recourses; in term of the Dependent Origination is important to the subsistence and adequate for water consumption. เท addition, the water resources are important in term of the agricultural management and are the places of pleasant for relaxing. There were shown through the Vinaya or disciplines, the Buddhist religious rite and the role of Buddhist monks. The water resources management of the Ping River Conservation Organization is considered to be the collaboration management among state agencies, private sectors, the Royal Project, the Local Administrative Organization, the Community of Ping Watershed and the Sangha Community. They have noted that the water resources belong to the public, thus it should be managed together with the use of local traditional rituals and the state power. The Buddhism integrated on water resources management of the Ping River Conservation Organization was integrated by using the Buddhist doctrines, state power, indigenous knowledge and power of the community in order to effectively and mutually beneficial to all parties. Regarding to the effective model of the integrated water resources management, it should cultivate the morality in people’s mind and use the law for controlling behavior. The networking operation and descending the indigenous knowledge
Downloads
How to Cite
Issue
Section
License
1. Articles, information, content, images, etc published in the “Community and Social Development Journal” are copyrighted by the Community and Social Development Journal, Chiang Mai Rajabhat University. In order to properly distribute the articles through print and electronic media, the authors still hold the copyright for the published articles under the Creative Commons Attribution (CC BY) license, which allows the re-distribution of the articles in other sources. References must be made to the articles in the journal. The authors are responsible for requesting permission to reproduce copyrighted content from other sources.
2. The content of the articles appearing in the journal is the direct responsibility of the article authors. The editorial board of the journal does not necessarily agree with or share any responsibility.