Gesundheitssprichwörter: Formanalyse und Konsequenzen für den Deutschunterricht การวิเคราะห์รูปแบบของคำสุภาษิตภาษาเยอรมันที่เกี่ยวกับสุขภาพ และผลวิเคราะห์ที่เป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนภาษาเยอรมัน
Main Article Content
บทคัดย่อ
Abstract
Ziel dieses Beitrags ist es, anhand von gesammelten und ausgewählten Gesundheitssprichwörtern ihre innere und äußere Form zu analysieren sowie deren strukturelle Konsequenzen und pragmatischen Effekte zu erörtern. Dargestellt werden auch bestimmte Merkmale der Gesundheitssprichwörter im Bereich Wortschatz, medizinische Kenntnisse und landeskundliche Informationen, die für den Deutschunterricht nützlich sein können. Die grundliegenden Gesundheitssprichwörter stammen hauptsächlich aus dem großen Lexikon deutscher Gesundheitsregeln von Helmut A. Seidl (2010).
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบและโครงสร้างเฉพาะของ คำสุภาษิตภาษาเยอรมันที่เกี่ยวกับสุขภาพ ซึ่งประกอบด้วยรูปแบบภายในและภายนอกของ คำสุภาษิต นอกจากนี้ยังเป็นการศึกษาคำศัพท์ภาษาเยอรมันที่เกี่ยวกับสุขภาพ ซึ่งความรู้ที่ได้จากการศึกษานี้สามารถเชื่อมโยงไปถึงข้อมูลทั่วไปที่เกี่ยวกับความเป็นอยู่ ความเชื่อ และความรู้สึกนึกคิด
ของคนเยอรมัน ผลการวิจัยที่ได้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอนภาษาเยอรมัน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นแนวทางใหม่แนวทางหนึ่งในการช่วยพัฒนาการเรียนการสอนภาษาเยอรมันด้วย ทั้งนี้ผู้วิจัยได้รวบรวมคำสุภาษิตภาษาเยอรมันที่เกี่ยวกับสุขภาพดังกล่าวข้างต้นจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ โดยเฉพาะจากหนังสือสารานุกรมของ Helmut A. Seidl ซึ่งตีพิมพ์เมื่อปี ค.ศ. 2010
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ประกาศลิขสิทธิ์จะปรากฏในเกี่ยวกับวารสาร ควรอธิบายสำหรับผู้อ่านและผู้เขียนว่าเจ้าของลิขสิทธิ์เป็นผู้เขียนวารสารหรือบุคคลที่สาม ควรรวมถึงข้อตกลงการอนุญาตเพิ่มเติม (เช่นใบอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์) ที่ให้สิทธิ์แก่ผู้อ่าน (ดูตัวอย่าง) และควรให้วิธีการรักษาความปลอดภัยหากจำเป็นสำหรับการใช้เนื้อหาของวารสาร