“เปาะยานิ” ตํานานจากยะลา: บทบาทของคติชนเพื่อสันติภาพท้องถิ่น

Main Article Content

วาริด เจริญราษฎร์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์กลวิธีการสร้างสันติภาพของตํานานพื้นบ้าน


เรื่องเปาะยานิ ตามแนวคิดการสร้างสันติภาพ ผู้วิจัยสํารวจและรวบรวมตํานานพื้นบ้านเรื่องเปาะยานิ ที่เป็นข้อมูลคติชนแบบมุขปาฐะ ด้วยการลงพื้นที่ภาคสนาม บริเวณหมู่ที่ 3 บ้านเปาะยานิ ตําบลสะเตงนอก อําเภอเมือง จังหวัดยะลา ตามระเบียบวิธีทางคติชนวิทยา ผลการวิจัยพบว่าตํานานเปาะยานิ มีกลวิธีในการสร้างสันติภาพท้องถิ่นด้วยการจัดการความขัดแย้ง 3 ลักษณะ ได้แก่ 1) การระงับความขัดแย้ง ประกอบด้วยวิธีการไกล่เกลี่ย และการจูงใจด้วยเป้าหมายร่วมกันอย่างชัดเจน 2)การควบคุมความขัดแย้ง ประกอบด้วยวิธีการต่อรอง และการนิยามความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่ม 3) การเผชิญหน้าความขัดแย้ง ประกอบด้วยวิธีการแสวงหาความร่วมมือในการแก้ปัญหา และการออกแบบโครงสร้างใหม่ ผลการวิจัยสะท้อน ถึงเจตจํานงและภูมิปัญญาเพื่อสร้างสันติภาพ ในท้องถิ่นพหุวัฒนธรรมที่เต็มไปด้วยความแตกต่าง และเป็นแนวทางการศึกษาข้อมูลคติชนที่เป็นเครื่องมือสําหรับการสร้างสันติภาพท้องถิ่นในสามจังหวัด ชายแดนภาคใต้

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ทรัยนุง มะเด็ง อับดุลเร๊าะมัน บาดา และวลัยลักษณ์ ทรงศิริ. (2553). ยาลอเป็นยะลาความ

เปลี่ยนแปลงของบ้านเมืองและคนรุ่นใหม่ในเมืองและปริมณฑลยะลา. กรุงเทพมหานคร:

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ปฐม หงษ์สุวรรณ. (2542). การวิเคราะห์ตํานานสุริยคราสและจันทรคราสของชนชาติไท.

(วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.

ปรมินท์ จารุวร. (2547).ความขัดแย้งและการประนีประนอมในตํานานปรัมปราไทย.(วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต).

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.

พิเชฐ แสงทอง. (2551). ตํานานไทยพุทธและมลายูมุสลิม : อํานาจและการต่อต้านในภาคใต้

ของไทย. (วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.

ราชันย์ เวียงเพิ่ม. (2550). พระคเณศ : ตํานานและพิธีกรรมในสังคมไทย. (วิทยานิพนธ์ มหาบัณฑิต).

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.

วาริด เจริญราษฎร์. (2566). กลวิธีการเสริมสร้างสันติภาพสําหรับสังคมพหุวัฒนธรรมใน วรรณกรรม

เสริมบทเรียนอิสลามศึกษาชุด “เรียนรู้เพื่อเข้าใจ”. รายงานการวิจัย. กรุงเทพมหานคร:

มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

ศรีศักดิ์ วัลลิโภดม. (2522). ชุมชนโบราณในสี่จังหวัดภาคใต้, ค้นหาอดีตของเมืองโบราณ,

(น.166- 167). กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์เมืองโบราณ.

ศิราพร ณ ถลาง. (2539). การวิเคราะห์ตํานานสร้างโลกของคนไท. รายงานการวิจัย.

กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อนุชา พิมศักดิ์. (2550). ตํานานพระเจ้าห้าพระองค์ : โครงสร้างเนื้อหาและบทบาทในสังคมไทย.

(วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.

อภิลักษณ์ เกษมผลกูล. (2552). ตํานานพระศรีอาริย์ในสังคมไทย : การสร้างสรรค์และบทบาท.

(วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.

Arnold, H.J. & Feldman, D.C. (1986). Intergroups Conflict, In Organization Behavior,

(pp.209-236). New York : McGraw-Hill.

Galtung, J. (1975). Peace: Research - Education - Action. Copenhagen: Chr. Ejlers

Forlag.

Joseph, M. (1992). The rehabilitation of myth: Vico’s New science. Cambridge:

Cambridge University Press.

Levi, S.C. (1955). The Structural Study of Myth. The Journal of American Folklore,

(270), 428.

Margaret R.S. (1994). The Narrative Constitution of Identity: A Relationaland Network

Appoach. Theory and Society, 23(5), p.606.

Robbins, S.D. (1983). Managing Conflict, In Organization Theory, (pp.287-308). New

Jersey: Prentice-Hall.

Turner, S. & Weed, F. (1983). Conflict in Organizations. Englewood, New Jersey:

Prentice-Hall.