Von Aesops Fabeln zum Tierwitz. Analyse und didaktisch-methodische Umsetzung im Deutschunterricht in Thailand จากนิทานอุทาหรณ์สู่เรื่องเล่าตลกขำขันภาษาเยอรมันที่เกี่ยวกับสัตว์ การวิเคราะห์เทียบบทบาทของสัตว์ในนิทานอุทาหรณ์และเรื่องเล่า

Main Article Content

Dr. Prapawadee Kusolrod

บทคัดย่อ

Abstract

Fabeln und Tierwitze zählen zum volkstümlichen Erzählgut und gehören zu den  lebendigsten Gattungen der Volkserzählungen. Sie sind in zeitliche, ethnische und soziale Rahmenbedingungen eingebunden, tragen indessen jedoch auch allgemeine Züge. So wollen Fabeln z.B. unterhalten und belehren. Häufig begegnen uns Fabeln und Tierwitze im Alltag, etwa in der Kommunikation zwischen engen Freunden und natürlich auch im Unterricht. Sie können eine wichtige Brücke bei der Vermittlung sprachlicher Kenntnisse und interkulturellen Wissens bilden.

Das Ziel dieser Arbeit ist, die Funktionen sowie die Rollen von Tierfabeln und Tierwitzen zu untersuchen und miteinander zu vergleichen. Es wird dabei analysiert, welche Formen, Figuren, Strukturen, Inhalte und landeskundliche Informationen der beiden Gattungen in den Texten enthalten sind.  Aus  diesen  Gegebenheiten  soll  ein  didaktisches  Konzept für eine Gestaltung  eines Deutschunterrichts für thailändische Deutschlernende in Thailand entwickelt werden.

บทคัดย่อ

นิทานอุทาหรณ์และเรื่องเล่าตลกขำขันภาษาเยอรมันที่เกี่ยวกับสัตว์ถือได้ว่าเป็นวรรณกรรมพื้นบ้านที่มีคุณค่ามาแต่โบราณและเป็นที่นิยมถ่ายทอดเล่าสู่กันฟังจนถึงทุกวันนี้ เนื่องจากเป็นเรื่อง  ที่สะท้อนความเป็นมาแห่งชาติพันธุ์ สภาพสังคมและความรู้สึกนึกคิดของยุคสมัย ตลอดจนให้ความบันเทิงและสอดแทรกคติธรรมที่ใช้ในการดำเนินชีวิต โดยจะพบเห็นได้จากการเล่าเรื่อง   ในกลุ่มเพื่อนสนิทหรือแม้แต่ใช้ในการเรียนการสอน ซึ่งวรรณกรรมทั้งสองประเภทนี้สามารถนำมาใช้เป็นสื่อในการเรียนการสอนภาษา และวัฒนธรรมเยอรมันเป็นอย่างดี

วัตถุประสงค์ของงานวิจัยชิ้นนี้ คือ การศึกษาค้นคว้า เปรียบเทียบนิทานอุทาหรณ์และเรื่องเล่าตลกขำขันภาษาเยอรมัน ตลอดจนวิเคราะห์รูปแบบ ตัวละคร โครงสร้าง เนื้อหาและข้อมูลอื่น ๆ  ที่เกี่ยวกับประเทศเยอรมนี และนำผลการวิจัยมาใช้พัฒนาการเรียนการสอนภาษาเยอรมัน  ในประเทศไทยต่อไป

Article Details

บท
บทความวิจัย