การจัดการความโกรธในชีวิตประจำวันตามแนวพุทธธรรม Control anger on a daily basis according to Buddhadhamma

Main Article Content

สุภา ศรีสวัสดิ์
พระมหาบุญศรี ญาณวุฑฺโฒ
สุเชาว์ พลอยชุม

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

            การจัดการความโกรธในชีวิตประจำวันตามแนวพุทธธรรม เป็นกระบวนการพัฒนาทางจิตเป็นสำคัญเพื่อปรับพฤติกรรมทางกาย ทางวาจา เพื่อการดำเนินชีวิตอย่างมีความสุขทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตโดยการพิจารณาทั้งด้านจิตวิทยาและหลักพุทธธรรม ได้แก่ การเจริญสติ ขันติ และเมตตา ด้านการควบคุมความโกรธ ด้วยสติ ขันติ เมตตา ตามหลักการของศีล เป็นมาตรฐานของอารยชนด้านความสัมพันธ์ทางสังคม ด้านการบรรเทาความโกรธด้วยสติ ขันติ เมตตา ตามหลักการของสมาธิ ในด้านจิตวิทยาเป็นขั้นความต้องการที่สูงขึ้น ได้แก่ การเป็นที่ยอมรับ การพัฒนาจิตใจให้เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมในการบรรเทา ขั้นสมาธินั้นเป็นการบรรเทาไม่ให้กิเลสเกิดชั่วขณะ ผู้ที่ทำได้ในระดับบรรเทาความโกรธนั้นต้องเป็นผู้ที่มีความประพฤติทางกายดีเรียกว่าเป็นผู้มีศีลธรรม เป็นมาตรฐานของอารยชนทางคุณธรรม การพัฒนาจิตมีความสำคัญต่อการพัฒนาทางกายเป็นที่ยอมรับทั้งในด้านจิตวิทยาและในศาสนาพุทธ

Abstract

To control the anger in daily life in the Buddhist approach is the mental development process in order to adjust physical and verbal behaviors for living a life with physical and mental happiness in the psychological and Buddhist viewpoints, i.e. to cultivate mindfulness, tolerance and loving-kindness. In controlling the anger, mindfulness, tolerance and loving-kindness should be cultivated in the precept level. According to psychology, human fundamental need is safety or security. Precepts are the principles for controlling behaviors and the civilized standard in social relation. In reducing the anger, mindfulness, tolerance and loving-kindness should be cultivated in the concentration level. In psychology, this is the higher need of human; the recognition. Mental development with moral and virtue in concentration level is to relief defilement in a while. Those who can reduce the anger must have good bodily behaviors and are recognized as ethical person. This is the standard of civilized man in morality. Mental development is essential to physical development and it is accepted by both psychology and Buddhism.

Article Details

บท
บทความวิชาการ