วิเคราะห์แนวคิดและศิลปะการใช้ภาษาในวรรณกรรมเพลงลูกทุ่งที่แต่งโดยสลา คุณวุฒิ

Main Article Content

พรทิพย์ ฉายกี่
จันทนา แก้ววิเชียร

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาแนวคิดศิลปะการใช้ภาษาในวรรณกรรมเพลงลูกทุ่งที่แต่งโดยสลา  คุณวุฒิ จำนวน  57 เพลง ซึ่งเป็นเพลงที่แต่งขึ้น ระหว่างปี พ.ศ.2541-2553


ผลการวิจัยพบว่า แนวคิดที่พบมากที่สุดคือ แนวคิดเกี่ยวกับความรัก  แนวคิดเกี่ยวกับธรรมชาติและแนวคิดเกี่ยวกับความเชื่อ ตามลำดับ ส่วนการวิเคราะห์ศิลปะการใช้ภาษา พบว่ามีการใช้ศิลปะแบบการเล่นคำ  ในวรรณกรรมเพลงมากที่สุด  รองลงมาคือการซ้ำความ การซ้ำคำ และการหลากคำ ตามลำดับ


ส่วนศิลปะการใช้ภาพพจน์ พบว่ามีการใช้อุปมาอุปไมย มากที่สุด รองลงมา ได้แก่  นามนัย อุปลักษณ์ บุคลาธิษฐาน ปฏิปุจฉาและอติพจน์ตามลำดับ

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biographies

พรทิพย์ ฉายกี่

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุโขทัย

จันทนา แก้ววิเชียร


ผู้ช่วยศาสตราจารย์สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุโขทัย

References

เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สมเด็จพระ. (2534). พระนิพนธ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ลูกทุ่งกับเพลงไทย ในกึ่งศตวรรษเพลงลูกทุ่งไทย ภาค 2. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

กรมศิลปากร. (2530). อัครศิลปิน. กรุงเทพฯ: ป.สัมพันธ์พาณิชย์.

กาญจนา วิชญาปกรณ์. (2542). แนวทางการวิจักษณ์วรรณคดี. ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร.__________. (2534). หลักเบื้องต้นในการศึกษาเรื่องสั้นและนวนิยาย. ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.

กำชัย ทองหล่อ. (2542). หลักภาษาไทย. กรุงเทพฯ : อมรการพิมพ์.

กุหลาบ มัลลิกะมาส. (2546). วรรณคดีวิจารณ์. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: รามคำแหง.

เกษม ขนาบแก้ว. (2540). การใช้ภาษาไทย 2. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

ขวัญยืน ศรีเถื่อนและคณะ. (2547). วิเคราะห์ภาพสะท้อนสังคมในบทเพลงที่ขับร้องโดยไมค์ ภิรมย์พร. ปริญญานิพนธ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.

จำนง ทองประเสริฐ. (2546). ภาษาไทย 5 นาที เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ดวงแก้ว.

ชวน เพชรแก้ว. (2544). การศึกษาวรรณคดีไทย. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.

ชัตสุณี สินธุสิงห์. (2532). วรรณคดีทัศนา. กรุงเทพฯ : โครงการตำราอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชูเกียรติ ฉาไธสงและคณะ. (2550). ศิลปินครูบ้านป่า สลา คุณวุฒิ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มิ่งนคร.

ธารทิพย์ สิทธิเชนทร์. (2539). วรรณกรรมเพลงของชาลี อินทรวิจิตร : การศึกษาวิเคราะห์. ปริญญานิพนธ์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

ธรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัย. (2542). การใช้ภาษาไทย 1. พิมพ์ครั้งที่3. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

บุญยงค์ เกศเทศ. (2525). วรรณกรรมวิเคราะห์. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.__________. (2530). แลลอดวรรณกรรมไทย. กรุงเทพฯ : พริ้งติ้งเฮ้าส์.__________. (2534). ภาษาวิทยานิพนธ์. กรุงเทพฯ : ต้นอ้อ.

เบญจวรรณ สุขวัฒน์. (2545). ร้อยกรองของแรคำ ประโดยคำ : การศึกษาเชิงวิเคราะห์. ปริญญานิพนธ์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

ปรมาภรณ์ ลิมป์เลิศเสถียร. (2539). ร้อยกรองของเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์:วัจนลีลากับความคิดของกวี. วิทยานิพนธ์, อม. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประภาศรี สีหอำไพ. (2531). การเขียนแบบสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

ปราณี พรมจรรย์. (2531). วิเคราะห์เรื่องสั้นของ ร. จันทะพิมทะ. วิทยานิพนธ์, ศศม. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ปรานี วงษ์เทศ. (2525). พื้นบ้านพื้นเมือง. กรุงเทพฯ. เจ้าพระยา.

ปรารถนา บัวเชย. (2537). วิเคราะห์แนวคิดและศิลปะการใช้ภาษาในวรรณกรรมของประภัสสรเสวิกุล. วิทยานิพนธ์, ศศม. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

เปลื้อง ณ นคร. (2542). ภาษาวรรณา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่างจำกัด.__________. (2540). ศิลปะแห่งการประพันธ์. กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่างจำกัด.

เพ็ญพักตร์ สูงสุมาลย์. (2544). การวิเคราะห์บทร้อยกรองของไพวรินทร์ ขาวงาม. ปริญญานิพนธ์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

มหาสาคร ภักดีนอก,พระ. (2543). วิเคราะห์กวีนิพนธ์ของไพวรินทร์ ขาวงาม. วิทยานิพนธ์, ศศม. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

มัยลา ศรีโมรา. (2540). การวิเคราะห์บทเพลงของสง่า อารัมภีร. ปริญญานิพนธ์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ยุวพาส์ (ประทีปปะเสน) ชัยศิลป์วัฒนา. (2544). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวรรณคดี. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ราชธิดา พฤกษารัตน์. (2540). โวหารรักในเพลงกล่อมเด็กที่พบในจังหวัดนครศรีธรรมราช. วิทยานิพนธ์, กศ.ม. มหาวิทยาลัยทักษิณ. 2540.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : ศิริวัฒนาอินเตอร์ปริ๊น.

วชิราภรณ์ พฤกษ์สุกาญจน์. (2543). ลักษณะเด่นทางวรรณกรรมศิลป์ในร่ายยาวมหาเวสสันดร. วิทยานิพนธ์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วราภรณ์ บำรุงกุล. (2537). ร้อยกรอง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ต้นอ้อ.

วัชราภรณ์ อาจหาญ. (2535). การศึกษาวิเคราะห์บทเพลงไทยสากลของสุนทราภรณ์. วิทยานิพนธ์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วันเนาว์ ยูเด็น. (2530). วรรณคดีเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.

วิทยา ดำรงเกียรติศักดิ์. (2531). การเขียนในงานส่งเสริม. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีเกษตรแม่โจ้ เชียงใหม่.

วิภา กงกะนันท์. (2533). วรรณคดีศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิชจำกัด.

วีรวรรณ คลังกรณ์. (2541). เพลงลูกทุ่งของชายเมืองสิงห์ : การศึกษาเชิงวิเคราะห์. ปริญญานิพนธ์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

สมพร มันตะสูตร. (2534). การอ่านทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.

สายทิพย์ นุกูลกิจ. (2537). วรรณกรรมไทยปัจจุบัน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุจริต เพียรชอบ. (2539). ศิลปะการใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

สุธิวงศ์ พงษ์ไพบูลย์. (2544). หลักภาษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิชจำกัด.

สุปาณี พัดทอง. (2544). ศิลปะการประพันธ์ภาษาไทย : ร้อยกรอง. โครงการตำรามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อนุมานราชธน,พระยา. (2544). การศึกษาวรรณคดีไทยในแง่วรรณศิลป์. กรุงเทพฯ : บรรณาคาร.

อรพินทร์ บำรุงเมือง. (2544). วิเคราะห์สุนทรียภาพในวรรณกรรมร้อยกรองของแรคำ ประโดยคำ. ปริญญานิพนธ์, กศ.ม. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ.

อรรษธร ประยูรวงศ์. (2543). ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อความกับการใช้โวหารจากบทร้อยกรองราชสดุดี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี. ปริญญานิพนธ์, กศ.ม. สงขลา:มหาวิทยาลัยทักษิณ.

อริณยา บุญยรัตน์พันธุ์. (2541). การวิเคราะห์เพลงประกอบโทรทัศน์. ปริญญานิพนธ์. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อุปกิตศิลปสาร, พระยา. (2545). หลักภาษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิชจำกัด.