การใช้เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี กรณีศึกษาพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์

Main Article Content

เอ็ม สายคำหน่อ

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ ได้มีแนวคิดมาจากความต้องการที่จะพัฒนาระบบ และหาประสิทธิภาพของระบบ โดยนำเอาเทคโนโลยี RFID มาใช้แทนการใช้บุคลากร เพื่อลดต้นทุนด้านการใช้ทรัพยากรบุคคล และงบประมาณที่ต้องถ่ายเอกสารจำนวนมาก เนื่องจากข้อมูลบัณฑิตมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา อาทิเช่น การถูกตัดรายชื่อ การสละสิทธิ การเกิดอุบัติเหตุระหว่างการฝึกซ้อม เป็นต้นและเพื่อให้ระบบเกิดประสิทธิภาพสูงสุดจึงได้สำรวจความต้องการของผู้ใช้งานระบบ (User Requirement) ซึ่งประกอบไปด้วย พนักงาน เจ้าหน้าที่ ตลอดจนผู้บริหาร เพื่อให้การพัฒนาระบบที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งาน เพื่อให้มีประสิทธิภาพต่อการใช้งาน และผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบ พบว่าภาพรวมระบบ มีประสิทธิภาพมีผลการประเมินที่ระดับ x̄ = 4.88

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

เอ็ม สายคำหน่อ

อาจารย์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์

References

Banks, Jerry. Hanny, David.Pachano, Manuel A. and Thompson, Les G. (2007). RFID applied. New Jersey, 509

เกษมศักดิ์ อุทัยชนะ. เชียงใหม่, 101.

ขจร อนุดิตย์. (2556). การควบคุมการติดตามหลายเป้าหมายเชิงลำดับโดยใช้ แท็กอาร์เอฟไอดีจำนวนน้อยที่สุดสำหรับหุ่นยนต์เคลื่อนที่อัตโนมัติอิงกริดเชิงขั้วที่สร้างขึ้นเอง. วิทยานิพนธ์ วท.ม., มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ประสิทธิ์ ทีฑพุฒิ และ ไพโรจน์ ไววานิช. (2549). เทคโนโลยี RFID. ดอกหญ้ากรุ๊ป. กรุงเทพฯ, 192

พัชราภรณ์ เชยสุวรรณ. (2556). เทคนิคการบีบอัดข้อมูลสำหรับอาร์เอฟไอดีเพื่อประยุกต์ใช้กับโลจิสติกส์. วิทยานิพนธ์ วท.ม., มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี. สมศักดิ์ ชุมช่วย. กรุงเทพฯ, 186

ลาภลอย วานิชอังกูร. (2552). เรียนรู้ด้วยตนเอง Database/Query/T-SQL/Stored Procedure. ซีเอ็ดยูเคชั่น.กรุงเทพฯ, 1,100

สัจจะ จรัสรุ่งรวีวร. (2550). คู่มือ Visual C# 2005 ฉบับสมบูรณ์. ไอซีดี อินโฟดิสทริบิวเตอร์ เซ็นเตอร์. นนทบุรี, 576

โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2555). การวิเคราะห์และออกแบบระบบ(ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม). ซีเอ็ดยูเคชั่น. กรุงเทพมหานคร, 460