RFID กับการจัดการปัญหารถติด
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำระบบ RFID จัดการปัญหารถติดของการมารับบุตรหลานในมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ซึ่งการจัดทำระบบนี้ได้มาจากการศึกษาระบบงานที่มีอยู่ในปัจจุบันมาประยุกต์ใช้กับระบบงานโดยผู้วิจัยได้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ระบบที่สะดวกสบาย รวดเร็วกับผู้ใช้งานระบบ และได้ข้อมูลรายละเอียดที่ถูกต้องและครบถ้วนการออกแบบระบบใหม่เพื่อพัฒนาระบบได้เก็บข้อมูลความต้องการจากผู้ปกครอง และคุณครู จากนั้นนำข้อมูลมาทำการวิเคราะห์ออกแบบระบบและพัฒนาระบบโดยใช้โปรแกรมภาษาพีเฮชพี (PHP) ผู้ใช้งานสามารถใช้งานตามที่ต้องการมีความรวดเร็วประหยัดเวลาสะดวกและเข้าใจง่ายจากการดำเนินงานต่าง ๆ นั้นพบว่าระบบ RFID จัดการปัญหารถติด มีประสิทธิภาพเพียงพอกับการใช้งานของผู้ใช้งาน
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
References
ประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติว่าด้วยมาตรฐานทางเทคนิคของเครื่องโทรคมนาคมและอุปกรณ์ เรื่อง เครื่องวิทยุคมนาคมประเภท Radio Frequency Identification : RFID. (2550, 26 มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 124 ตอนพิเศษ 9 ง. หน้า 335-339.
วัชรากร หนูทอง และ อนุกูล น้อยไม้. (2556). RFID เทคโนโลยีอัจฉริยะแห่งอนาคต (ตอนที่ 4). [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก : http://www.thailandindustry.com/guru/view.php?id=19458§ion=9
3M. (2006). 3M standard interchange protocol : Describes 3M standard interchange protocol version 2.00. Retrieved from http://multimedia.3m.com/mws/media/355361O/sip2-protocol.pdf
Baba, K., & Tripuram, R. (2014). Implementation RFID technology for library security : A proposal of Maulana Azad National Urdu University (MANUU). International of innovative research & Development. 3(12), 151-157.
Butters, A. (2008). RFID for libraries: a comparison of high frequency and ultra high frequencyoptions. Aplis. 21(3), 120-134.
Landt, J. (2001). Shrouds of time: The history of RFID. Retrieved from https://www.transcore.com/sites/ default/files/History%20of%20RFID%20White%20Paper.pdf