ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการในการยื่นปฏิบัติตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร (Primary GMP) ของกลุ่มแม่บ้านสหกรณ์บางช้าง ในเขตพื้นที่ตำบลบางช้าง อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม

Main Article Content

พรรณี โรจนเบญจกุล
ทิพย์วารินทร์ เบ็ญจนิรัตน์
พงษ์ศักดิ์ เจริญงามเสมอ
จตุพร อุ่นประเสริฐสุข
จิรวัฒน์ สุดสวาท

บทคัดย่อ

            การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการในการยื่นปฏิบัติตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร  2. สร้างความรู้ความเข้าใจในกระบวนการและการบริหารจัดการในการยื่นปฏิบัติตามมาตรฐาน Primary GMP และ 3. ศึกษาแนวทางในการยื่นปฏิบัติตามหลักวิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร โดยศึกษาจากข้อมูลทุติยภูมิในการค้นหาปัจจัยที่มีที่มีผลต่อการบริหารจัดการในการยื่นปฏิบัติตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย และค่าร้อยละ


            ผลการวิจัยพบว่า 1. ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการในการยื่นปฏิบัติตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร (Primary GMP) ได้แก่ การเข้าถึงแหล่งข้อมูลข่าวสาร มีค่าเฉลี่ย 3.15 รองลงมาคือการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการขออนุญาตผลิตอาหารตามเกณฑ์ มีค่าเฉลี่ย 3.09 2. การสร้างความรู้ความเข้าใจในกระบวนการและการบริหารจัดการในการยื่นปฏิบัติตามมาตรฐาน พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีระดับความรู้ความเข้าในในมาตรฐาน GMP อยู่ในระดับมาก ร้อยละ 54.54 รองลงมาคือระดับมากที่สุด ร้อยละ 40.9 และ 3. แนวทางในการยื่นปฏิบัติตามหลักวิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร พบว่า มีระดับความพึงพอใจ ด้านการส่งเสริมการขาย และการมีรายได้เพิ่ม มีค่าเฉลี่ย 3.09 อยู่ในระดับปานกลาง

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมวิชาการเกษตร. (2559). รายชื่อโรงงานแปรรูปที่ผ่านการรับรองระบบ GMP จากกรมวิชาการเกษตร. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.doa.go.th/psco. (วันที่ค้นข้อมูล: 8 ธันวาคม 2563).

กระทรวงสาธารณสุข. (2561). หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย 55. (Primary GMP). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.fda.moph.go.th . (วันที่ค้นข้อมูล: 15 ธันวาคม 2563).

กฤตวัฏ บวรนิรมาณ. (2554). มาตรฐาน GMP และ HACCP คืออะไร. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://oknation.nationtv.tv/blog/kritwat/2011/11/25/entry-2. (วันที่ค้นข้อมูล: 8 ธันวาคม 2563).

กัลยาณี ดีประเสริฐวงศ์. (2552). GMP กฎหมาย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://food.fda.moph.go.th/data/document/2554/GMP4-2_LAW_Information.pdf. (วันที่ค้นข้อมูล: 8 ธันวาคม 2562).

ชญพร อักษรกูล. (2553). การศึกษาปัญหาการจัดทำระบบ GMP ในโรงงานน้ำปลาขนาดเล็ก. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.proceedings. (วันที่ค้นข้อมูล: 20 มิถุนายน 2563).

ณัฐฐิพร อนันตศิริ. (2557). การวางระบบ GMP ในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://library.dip.go.th/multim4/CD. (วันที่ค้นข้อมูล: 10 ธันวาคม 2563).

ฤทัยรัตน์ หวานฉ่ำ. (2554). ความรู้เบื้องต้นและประโยชน์ของ GMP ต่อการพัฒนาระบบการผลิตอาหาร และขั้นตอนการจัดระบบตาม GMP. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://taxclinic.mof.go.th/pdf/4355CE32_E2AC_B968_094F_5649DD3B9CC1.pdf. (วันที่ค้นข้อมูล: 12 ธันวาคม 2563).

ลัญญณัฐ ภาตะนันท์. (2551). การศึกษาศักยภาพของสถานประกอบการผลิตเส้นขนมจีนในการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ดีในการผลิตอาหาร(GMP) (กรณีศึกษาภาคเหนือ). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://digi.library.tu.ac.th/thesis/it/0916/title-biography.pdf. (วันที่ค้นข้อมูล: 17 ธันวาคม 2563).

สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง. (2563). ปางหินฝนชุมชนต้นแบบการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว มาตรฐาน GMP. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.hrdi.or.th/Articles/Detail/93. (วันที่ค้นข้อมูล: 20 ตุลาคม 2563).

สถาบันอาหารกระทรวงอุตสาหกรรม. (2561). หลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร หลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร ะวิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร (Good Manufacturing Practice : GMP). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http:// /foodsafety/upload/qs/pdf/GMP_2.pdf. (วันที่ค้นข้อมูล: 10 ธันวาคม 2563).

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. (2561). รายนามสถานที่ผลิตยาแผนปัจจุบัน ที่ได้มาตรฐานวิธีการที่ดีในการผลิต. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.fda.moph.go.th. (วันที่ค้นข้อมูล: 8 ธันวาคม 2563).

สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. (2561). รายงานภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไตรมาสที่ 2/2561 และแนวโน้มไตรมาสที่ 3/2561. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.ryt9.com/s/oie/2884941

สุวรรณา จิตติสรสกุล. (2563). การประยุกต์ใช้การประเมินตนเองสำหรับจีเอ็มพีสุขลักษณะขั้นพื้นฐาน (Primary GMP) เพื่อปรับปรุงการดำเนินงาน: กรณีศึกษาผักและผลไม้อบแห้งที่ใช้ระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบเรือนกระจก. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http:// http://ithesis- ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/3409/1/61403304.pdf. (วันที่ค้นข้อมูล: 8 ธันวาคม 2563).

Likert, Rensis. (1967). “The Method of Constructing and Attitude Scale”, Reading in Attitude Theory and Measurement. P.90-95. Fishbeic, Matin, Ed. New York: Wiley & Son.