แนวคิดเรื่องอัตวิสัยของซอเรน อับบี เคียร์เคกอร์ด

ผู้แต่ง

  • ทวีชัย ยินธรรม์ Chiang Mai University

คำสำคัญ:

อัตถิภาวนิยม, อัตวิสัย, ปรัชญาตะวันตก, ความหมายของชีวิต, ซอเรน เคียร์เคกอร์ด

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่อง “แนวคิดอัตวิสัยของซอเรน อับบี เคียร์เคกอร์ด” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์แนวคิดเรื่องอัตวิสัยของเคียร์เคกอร์ดในเชิงปรัชญา โดยเคียร์เคกอร์ดมองว่ามนุษย์แต่ละคนที่ดำรงอยู่ในโลกล้วนมีเรื่องราวในชีวิตที่มีความหมายแต่กิจกรรมทางสังคมและกลุ่มคนขนาดใหญ่ได้กลืนกินชีวิตของปัจเจกชนจนทำให้ปัจเจกชนละเลยภาระหน้าที่ของตนเองในการค้นหาความหมายชีวิตอันเป็นสิ่งที่ดำรงอยู่ภายในชีวิตของแต่ละคน เคียร์เคกอร์ดชวนให้มนุษย์ทุกคนค้นหาความหมายของชีวิตในการดำรงอยู่ด้วยวิธีการแห่งการไตร่ตรอง การศรัทธา การตัดสินใจ และการรับผิดชอบของตนเอง แต่อย่างไรก็ตามมนุษย์ที่ดำรงอยู่ในสภาพอันจำกัดก็ไม่สามารถค้นหาความหมายและตัวตนที่แท้จริงได้นอกเสียจากจะต้องพึ่งพาอาศัยในบางสิ่ง ซึ่งสำหรับเคียร์เคกอร์ดสิ่งนั้นก็คือ พระผู้เป็นเจ้า

References

กีรติ บุญเจือ. (2522). ชุดปัญหาปรัชญา: ปรัชญาลัทธิอัตถิภาวนิยม. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
เกษม เพ็ญภินันท์, ธนิก เลิศชาญฤทธ์, สายัณห์ แดงกลม, สุรเดช โชติอุดมพันธ์, และนิติ ภวัครพันธุ์. (2550) .สู่พรมแดนความรู้เรื่องวัฒนธรรมบริโภค / ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน). กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.
เคียร์เคกอร์ด, ซอเรน. (2552). Diapsalmata: ปรัชญากัมปนาท. แปลโดย พยงศักดิ์ เตียรณสกุล. กรุงเทพฯ: หนึ่ง.
รชฏ สาตราวุธ. (2557). รักไม่ยอมเปลี่ยนแปลง: ว่าด้วยรักในกระแสการเปลี่ยนแปลงในปรัชญาของเคียร์เคกอร์ด.ใน เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทยครั้งที่ 7, (หน้า 39 - 69). กรุงเทพฯ: ชุดโครงการเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
รชฏ สาตราวุธ. (2554). สารานุกรมปรัชญาออนไลน์ฉบับสังเขป: อัตถิภาวนิยม. ค้นเมื่อ 28 กุมภาพันธ์ 2557, จาก http://www.philospedia.net/phenomenology.html
วาฮ์ล, ฌอง. (2530). ปรัชญาของการมีอยู่: ประวัติศาสตร์ย่อย “ลัทธิเอคซิสเทนเชียลลิสม์”. แปลโดย โกมุที ปวัตนา. กรุงเทพฯ: สมิต.
Carlisle, C. (2005). Kierkegaard’s Philosophy of Becoming: Movement and Position. New York: State University of New York Press.
Daniel, D. M. (2007). Briefly: Kierkegaard’s Fear and Trembling. London: SCM Press.
Evans, C. S. (2009). Kierkegaard: An Introduction. New York: Cambridge University Press.
Gardiner, P. (2002). Kierkegaard: A Very Short Introduction. New York: Oxford University Press.
Henrich, D. (2008). Between Kant and Hegel: lectures on German idealism, edited by David S. Pacini. Cambridge, Massachusetts, London, England: Harvard University Press.
Hong, H. V. & Hong, E. H. (1980). The Essential Kierkegaard. Princeton, New Jersey: Princeton University Press.
Karen, L. C., Philip, J. I. (2010). The Sense Of Antirationalism: The Religious Thought Of Zhuangzi And Kierkegaard. Hong Kong: CreateSpace Independent Publishing Platform.
Kierkegaard, S. (1987). Concluding Unscientific Postscript to the Philosophical Fragments (Howard V. Hong & Edna H. Hong.). Princeton, New Jersey: Princeton University Press. (Original work published 1846).
Kierkegaard, S. (1987). Either/Or, Part 1 (Howard V. Hong & Edna H. Hong.). Princeton, New Jersey: Princeton University Press. (Original work published 1843).
Kierkegaard, S. (1987). Either/Or, Part 2 (Howard V. Hong & Edna H. Hong.). Princeton, New Jersey: Princeton University Press. (Original work published )
Kierkegaard, S. (1983). Fear and Trembling, Repetition (Howard V. Hong & Edna H. Hong.). Princeton, New Jersey: Princeton University Press. (Original work published 1843).
Kierkegaard, S. (1985). Philosophical Fragments (Howard V. Hong & Edna H. Hong.). Princeton, New Jersey: Princeton University Press. (Original work published 1844).
Kierkegaard, S. (1988). Stages on Life’s Way (Howard V. Hong & Edna H. Hong.). Princeton, New Jersey: Princeton University Press. (Original work published 1845).
Kierkegaard,S. (1980). The Sickness unto Death (Howard V. Hong & Edna H. Hong.). Princeton, New Jersey: Princeton University Press. (Original work published 1849).
Renaut, A. (2001). The Era of the Individual: A Contribution to a History of Subjectivity (M.B. DeBevoise & Franklin Philip.). Delhi: Motilal Banarsidass.
Taylor, M. C. (2000). Journeys to Selfhood: Hegel & Kierkegaard. New York: Fordham University Press.
Watkin, J. (1997). Kierkegaard: Outstanding Christian Thinkers. New York: Continuum International.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-09-2018