การสื่อสารจริยธรรมกับความเปลี่ยนแปลงในสังคมไทย
คำสำคัญ:
พุทธศาสนา, สังคมไทย, การสื่อสารเชิงจริยธรรมบทคัดย่อ
บทความนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะเสนอความเปลี่ยนแปลงการสื่อสารเชิงจริยธรรมในพุทธศาสนา โดยแสดงให้เห็นว่า ความคิดทางอุดมคติ “นิพพาน” ของพุทธศาสนาในสังคมไทยได้มีการปรับไปตามบริบทและเงื่อนไขของเวลา และเริ่มลดลงเนื่องจากความแตกต่างของ “โลกทางธรรม” และ “โลกของฆราวาส” เมื่อสังคมไทยเปลี่ยนไปสู่สังคมสมัยใหม่ สถาบันทางศาสนาได้ปรับตัวให้สอดคล้องกับผู้คนและมีความสัมพันธ์กับตารางเวลามากขึ้น รูปแบบของการสื่อสารเชิงจริยธรรมจึงมีลักษณะของการบันเทิงและการประยุกต์สู่การเป็นพื้นที่ของการท่องเที่ยว การเผยแผ่ธรรมะรูปแบบใหม่จำเป็นต้องอาศัยความสัมพันธ์ของเครือข่ายทุนการสื่อสาร หน่วยงานภาครัฐส่วนกลาง และระดับท้องถิ่น
References
ประวัติศาสตร์แห่งรัฐ-ชาติ-ทุน และประวัติศาสตร์แห่งการปลดปล่อย.
มนุษยศาสตร์สาร. ปีที่ 15 (1), 1 – 26.
ฉวีมณฑ์ สุขไพบูลย์. (2553). การประยุกต์แนวคิดการตลาดเพื่อสังคมในการเผยแผ่ธรรมะ : กรณีศึกษา
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. คณะนิเทศศาสตร์.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จันทิกา สุภาพงษ์. (2543). บทบาทของหนังสือพิมพ์ในการวางกรอบอุดมการณ์ทางสังคมใน
กรณีการนำเสนอข่าววัดพระธรรมกาย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. คณะนิเทศศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภานุวัฒน์ ทรงสวัสดิ์ชัย. (2560). คุยกับ ส.ศิวรักษ์ จากคำ (สั่ง?) ขอของจอมพลสฤษดิ์ ถึงพุทธพาณิชย์ใน
สังคมไทย. ค้นเมื่อ 26 มีนาคม 2560 จาก https://www.prachatai.com/journal .
ชลธิชา ชูชาติ. (2552). กระบวนการสร้างสารของพระมหาสมปอง ตาลปุตโต รายการธรรมะเดลิเวอรี่.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. คณะนิเทศศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นฤมล กล้าทุกวัน. (2557). การทำงานและการให้คุณค่าต่อการทำงานของแรงงานหญิงนวนครภายใต้การ
กำกับวินัยทางเวลา. สังคมวิทยามานุษยวิทยา. 33(2).
นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2554). สันติสุข โสภณศิริ(บรรณาธิการ). ปาฐกถา 60 ปี เศรษฐศาสตร์
ธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ : โอเพ่นบุ๊กส์
ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช และท่านพุทธทาสภิกขุ (2507) . วิวาทะ เรื่อง จิตว่าง. กรุงเทพฯ. ธรรมสภา.
มิเชล ฟูโกต์ (ทองกร โภคธรรม ผู้แปล) (2559). ร่างกายใต้บงการ. มูลนิธิเพื่อการศึกษาประชาธิปไตย
และการพัฒนา. กรุงเทพฯ : คบไฟ.
ธีระภัทรา เอกผาชัยสวัสดิ์. (2553). ชุมชนศึกษา (Community Study). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บรรพต วีระสัย. (2523). พระสงฆ์กับสังคมไทยโดยพิจารณาในเชิงสังคม เศรษฐกิจการเมือง และการ
ปกครอง : ศึกษากรณีวัดในกรุงเทพฯ และฉะเชิงเทรา. คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย
รามคำแหง .
พระไพศาล วิสาโล. (2552). พุทธศาสนาไทยในอนาคต แนวโน้มและทางออกจากวิกฤต. กรุงเทพฯ :
มูลนิธิโกมลคีมทอง.
พระมหาสมปอง ตาลปุตฺโต. (2550ก). สุขกันเถอะโยม. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : เวิร์คพอยท์.
________. (2550ข). ธรรมเดลิเวอรี่ เล่ม 1 ธรรมะวัยรุ่น. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ :
Phislt Thaioffset Co..Ltd.
________. (2550ค). ธรรมเดลิเวอรี่ เล่ม 2 ธรรมะกับคู่รัก. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ :
Phislt Thaioffset Co..Ltd.
________. (2550ง). ธรรมเดลิเวอรี่ เล่ม 3 ธรรมะวัยทำงาน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ :
Phislt Thaioffset Co..Ltd.
ธาวิต สุขพาณิชย์. (2525). ทะลวงกรอบทลายกรง: การพิจารณาเชิงประวัติศาสตร์ถึงความสัมพันธ์
ระหว่าง อนาคต เวลา ศาสนา และความก้าวหน้าของสังคมไทย. ธรรมศาสตร์. 11(3),
109 – 133.
ว. วชิรเมธี. (2556). หนักเป็นเบาเมื่อเราไม่แบก. สัปปายะ. นนทบุรี.
_________. (2559). Find Your Passion in Life. นิตยสาร Dream On. 1(2).
วินัย พงษ์ศรีเพียร. (2555). วันวารกาลเวลาแลนานาศักราช. กรุงเทพฯ : พิมพ์ลักษณ์.
อรรถจักร สัตยานุรักษ์. (2538). การเปลี่ยนแปลงโลกทัศน์ของชนชั้นผู้นำไทยตั้งแต่รัชกาลที่ 4 ถึง
พุทธศักราช 2475. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Henri Lefebvre (Donald Nicholson-Smith Translation) (1991). The Production of
Space. Basil Blackwell. USA.
Frisby, D. And Feathersstone. (edited). (1997). Simmel On Culture : Select Writings
Theory. Culture & Society. Sage Publication. Inc
Thomson, E.P. (1967). Time. Work-Discipline and Industrial Capitalism. Past and
Present 38:56-97
Woodhead, L. & Heelas. P (edited). (2000). Religion in Modern Time.
Blackwell Publisher Ltd.
Zhang mu. Huang li et. (2007). Religious Tourism and Cultural Pilgrimage: a Chinese
Perspective. Religious Tourism and Pilgrimage Management: An International
Perspective. USA. Cambridge
เว็บไซต์
ผู้จัดการ 360 องศา รายสัปดาห์. (2558). คิวนิมนต์พุ่ง 200 งานต่อเดือน เบื้องหลังกลยุทธ์สุดฮิต 3 พระดัง
แห่งยุค. ค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2558
จาก www.manager.co.th/asp-bin/mgrView.asp?NewsID=9500000123483.
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี . (2559). สื่อธรรมะด้วยศิลปะ. ค้นเมื่อ 8 พฤศจิกายน 2559 จาก
ttp://daily.bangkokbiznews.com/detail/184732/
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี . (2559) . ให้พรวันเด็กผู้สร้างโลก. ค้นเมื่อ 7 พฤศจิกายน 2559.จาก
https://thainews.prd.go.th/website_th/news/news_detail/WNSOC5801100010060.
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี. (2559). เทศนาวันเด็ก ย้ำต้องสอนให้มีความรู้คู่คุณธรรม ชี้ความรู้อย่างเดียว
อันตราย. ค้นเมื่อ 7 พฤศจิกายน 2559 จาก
https://www.manager.co.th/local/viewnews.aspx?newsid=9580000003435.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
License
เนื้อหาของบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารปณิธานถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารปณิธาน ห้ามเผยแพร่ ตัดต่อ แก้ไข หรือนำไปใช้ก่อนได้รับอนุญาต
ผู้สนใจสามารถติดต่อขอเผยแพร่เนื้อหาในวารสารปณิธานได้ที่ panidhana-human@cmu.ac.th