สุนทรียทัศน์แบบเซ็นในงานศิลปะของคามิน เลิศชัยประเสริฐ

ผู้แต่ง

  • อิสระ ตรีปัญญา

คำสำคัญ:

สุนทรียศาสตร์, พุทธศาสนานิกายเซน, ปรัชญาศิลปะ, คามิน เลิศชัยประเสริฐ

บทคัดย่อ

บทความเรื่อง สุนทรียทัศน์แบบเซนในงานศิลปะของคามิน เลิศชัยประเสริฐ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์สุนทรียทัศน์แบบเซนในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะร่วมสมัยของคามิน เลิศชัยประเสริฐ ใช้วิธีการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการและเอกสารที่ได้จากการสัมภาษณ์ศิลปินและนักวิชาการ โดยใช้แนวคิดสุนทรียทัศน์แบบเซนมาเป็นกรอบการศึกษาวิเคราะห์ในประเด็นเรื่องคุณค่าสุนทรียะและประสบการณ์สุนทรียะ ผลการศึกษาพบว่า ในด้านคุณค่าสุนทรียะ ผลงานศิลปะของคามิน เลิศชัยประเสริฐมีลักษณะอัตวิสัย การกล่าวคือ คุณค่านี้มาจากการให้ความสำคัญกับกระบวนการทำงานมากว่าผลลัพธ์ที่เป็นวัตถุ ผลงานศิลปะที่เกิดขึ้นเป็นเพียงการยืนยันถึงร่องรอยประสบการณ์บางอย่างที่สำเร็จเสร็จสิ้นแล้วในจิตของศิลปิน ส่วนในด้านประสบการณ์สุนทรียะนั้นเป็นการรับรู้ในประสบการณ์ขณะนั้นอย่างบริสุทธิ์และจริงใจ ปราศจากความคิดปรุงแต่งและความคาดหวังใดๆ โดยศิลปินเห็นว่าการเข้าถึงประสบการณ์ทางสุนทรียะนี้เป็นสภาวะหนึ่งเดียวกันกับประสบการณ์ของสัจจะที่ตนได้รับรู้

References

Books:

Anesaki, Masaharu. (1995). History of Japanese Religion. London: Kegan Paul.

Blocker H. G. and Jeffers J. M. (1998). Contextualizing Aesthetics : from Plato to Lyotard. Toronto: Wadsworth.

Burnham, Douglas. (n.d.). (2020, January, 1). Immanuel Kant: Aesthetics. Retrieved from https://www.iep.utm.edu/kantaest/

čanthrasanti, Photčhanā. (1999). withī ngǣtao. (14 ed.). Bangkok: Kledthai.

พจนา จันทรสันติ. (2542). วิถีแห่งเต๋า. (พิมพ์ครั้งที่ 14). กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย.

Domoulin, Heinrich. (1995). Zen Enlightenment : Origins and Meaning. New York: Weathehill.

Earhart, Byron H. (1982). Japanese Religion : Unity and Diversity. California: Wadsworth.

Graham, Gordon. (2005). Philosophy of The Arts : An Introduction to Aesthetics. (3rd ed.). New York: Routledge.

Hisamatsu, Sin’ichi. (1974). Zen and The Fine Art. Tokyo: Kodansha.

Hoover, Thomas. (1978). Zen Culture. London: Routledge & Kegan Pual.

Iwō̜nphan, Chaiyot. (trans. 2016) sēn læ watthanatham Yīpun. [Zen and Japanese culture.] By Daisetsu Suzuki (2010). Bangkok: Bi.

ชัยยศ อิษฎ์วรพันธุ์. 2559. เซนและวัฒนธรรมญี่ปุ่น. กรุงเทพฯ : บี.

Kelly, Michael. (Ed.). (1998). Encyclopedia of Aesthetic. (1-4 Vols). New York: Oxford University Press.

Kim, Yong Choon. (1981). Oriental Thought. New Jersey: Rowman and Littlefield.

Suzuki, D.T. (1964). An Introduction to Zen Buddhism. New York: Grove Press.

Suzuki, D.T. (1970). Zen and Japanese Culture. New Jersey: Princeton University Press.

Thō̜ngprasœ̄t, čhamnong. (trans. 2004). sēn læ watthanatham Yīpun. [Zen and Japanese culture.] By Daisetsu Teitaro Suzuki (2010). Bangkok: The Royal Society.

จำนงค์ ทองประเสริฐ. (2547). เซนกับวัฒนธรรมญี่ปุ่น. กรุงเทพฯ :ราชบัณฑิตยสถาน.

Varly, Paul. (2000). Japanese Culture. Honolulu: University of Hawai‘i Press.

Journal:

Inprayūn, Sarayout. (2017). sō̜ngphanhārō̜ihoksip ) nǣo khwāmkhit læ krabūan bǣp nai sinlapa minimō̜nʻāt thī dai rap ʻitthiphon čhāk pratyā sēn. Veridian E-Journal, 10(1), 2093 - 2109.

ศรายุทธ อินทร์ประยูร. (2560). แนวความคิดและกระบวนแบบในศิลปะมินิมอลอาร์ตที่ได้รับอิทธิพลจากปรัชญาเซน. Veridian E-Journal, 10(1), 2093 - 2109.

Kanthaphong, Kanyamon. (2013). mō̜ng phāp khīan sēn phān lak sīahē A. Humanities Journal, 20(2), 1 – 20.

กัญญมณฑ์ กัณฑะพงศ์. (2556). มองภาพเขียนเซนผ่านหลักเซี่ยเห้อ. วารสารมนุษยศาสตร์, 20(2), 1 - 20.

Phūrichān. Wiphāt. (2007). 31st Century Museum of Contemporary Spirit Upon arrival at the station mư̄a mā thưng sathānī. Fine Art Magazine, 77(3) p. 71.

วิภาช ภูริชานนท์. (2550). “31st Century Museum of Contemporary Spirit Upon arrival at the station เมื่อมาถึงสถานี”. Fine Art Magazine, 77(3) p. 71.

Sīmākun, Nopphaklao. (2019). sēn : kap kānsāng san sinlapa. Veridian E-Journal, 12(5), 559 – 577.

นพเกล้า ศรีมาตย์กุล (2562) เซน : กับการสร้างสรรค์ศิลปะ. Veridian E-Journal, 12(5). 559 – 577.

Tōthēt, phatphō̜n. sinlapa chœ̄ng nǣokhit khō̜ngkhāmin lœ̄t chai prasœ̄t phiphitthaphan čhit winyān rūamsamai hǣng satawat. Phetchabun Rajabhat Journal, 19(1), 21 - 27.

พรรษพร โตเทศ. (2560). ศิลปะเชิงแนวคิดของคามิน เลิศชัยประเสริฐ พิพิธภัณฑ์จิตวิญญาณร่วมสมัยแห่งศตวรรษที่ 31. ราชภัฏเพชรบูรณ์สาร, 19(1), 21-27.

Thesis:

Kœ̄tnaimongkhon, Wīrayut. (2001). kān sư̄ khwāmmāi khō̜ng ngān thatsanasin. (Master Thesis). Bangkok, Thailand: Graduate School, Chulalongkorn University.

วีรยุทธ เกิดในมงคล. (2544). การสื่อความหมายของงานทัศนศิลป์. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Kōmutrattanānon, čharūn. (1989). khwāmsamphan rawāng sinlapa kap sīnlatham. (Master Thesis). Bangkok, Thailand: Graduate School, Chulalongkorn University.

จรูญ โกมุทรัตนานนท์. (2532). ความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะกับศีลธรรม. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Research:

Trīpanyā,ʻItsara. (2017). nǣokhit phut pratyā nai krabūankān sāngsan ngān sinlapa rūamsamai Thai. Maha Sarakham: Rajabhat Maha Sarakham University.

อิสระ ตรีปัญญา. (2560). แนวคิดพุทธปรัชญาในกระบวนการสร้างสรรค์งานศิลปะร่วมสมัยไทย. (รายงานผลการวิจัย). มหาสารคาม: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

Website:

Burnham, Douglas. (n.d.). (2020, January, 1). Immanuel Kant: Aesthetics. Retrieved from https://www.iep.utm.edu/kantaest/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

25-06-2020