การบูรณาการการจัดการเรียนรู้วิชาพระพุทธศาสนา
คำสำคัญ:
บูรณาการ, การจัดการการเรียนรู้, วิชาพระพุทธศาสนาบทคัดย่อ
การศึกษาในยุคดิจิตัลปัจจุบันมีความสลับซับซ้อนและหลากหลาย การจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาจึงจำเป็นต้องบูรณาการศาสตร์ต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนแสดงความสามารถที่เชี่ยวชาญเน้นทำได้จริง เกิดสมรรถนะผู้เรียนได้โดยบูรณาการการนำผลการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ การจัดกิจกรรม การใช้สื่อ ตลอดจนการวัดและประเมินผล มาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนการศึกษาจากตัวอย่างรูปแบบการจัดการเรียนรู้วิชาพระพุทธศาสนาตามแนวพุทธวิธี และลักษณะตัวอย่างจะมีการพิจารณาหลักธรรมเกี่ยวกับคำสอน โดยแบ่งตามระดับภูมิปัญญาของผู้เรียน สำหรับหลักธรรมเกี่ยวกับการเรียนรู้ จะใช้หลักธรรมไตรสิกขาเป็นแกนกลางการศึกษาและมีหลักธรรมที่ว่าด้วยโยนิโสมนสิการเป็นตัวเชื่อมวางกรอบแนวการปฏิบัติให้บรรลุถึงการศึกษาที่เกี่ยวกับพุทธวิธีในการสอน ให้ตามความเหมาะสมเป็นราย ๆ ด้วยเทคนิคอันหลากหลายวิธีของพระพุทธเจ้า
References
กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). การจัดสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2545. กรุงเทพฯ: คุรุสภา.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2514). หนังสือสาระการเรียนรู้พื้นฐานพระพุทธศาสนาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพฯ: คุรุสภา.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2514). คุณลักษณะพิเศษแห่งพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: คุรุสภา.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสตร์: ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพฯ: บริษัท เอส อาร์ พริ้นติ้ง แมส โปรดักส์ จำกัด.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต) . (2532). พุทธวิธีในการสอน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สหธรรมิก จำกัด.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2543). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎก ฉบับภาษาไทย. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
วิทย์ วิศทเวทย์ และเสฐียรพงษ์ วรรณปก. (2514). หนังสือสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม พระพุทธศาสนาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามหลักสูตรขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
สุรพงษ์ จันลิ้ม. (2514). หนังสืออ่านเพิ่มเติมสังคมศึกษา พระพุทธศาสนา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เล่ม 3. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
สุมน อมรวิวัฒน์. (2516). ระบบการสอนศีลธรรมตามแนวพุทธวิธี. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรพงษ์ จันลิ้ม. (2547). ศึกษาวิเคราะห์คุณธรรมจากชาดก ตามที่ปรากฏในสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา การศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษา พุทธศักราช 2544. (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).
อภิชา ภาอารยพัฒน์. (2542). ประวัติศาสตร์อียิปต์โบราณ: งานสถาปัตยกรรมและการก่อสร้าง วิหารพระนางแฮตเชปซุต. กรุงเทพฯ: ภาควิชาเทคนิคสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาของบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารปณิธานถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารปณิธาน ห้ามเผยแพร่ ตัดต่อ แก้ไข หรือนำไปใช้ก่อนได้รับอนุญาต
ผู้สนใจสามารถติดต่อขอเผยแพร่เนื้อหาในวารสารปณิธานได้ที่ panidhana-human@cmu.ac.th