วิเคราะห์วิถีชีวิตของครูภูมิปัญญาด้านแพทย์แผนไทย จังหวัดร้อยเอ็ด ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท
คำสำคัญ:
คำสำคัญ : ปรัชญาชีวิต, ภูมิปัญญา, ยาสมุนไพรบทคัดย่อ
งานวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาวิถีชีวิตของมนุษย์ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาวิถีชีวิตของครูภูมิปัญญาด้านแพทย์แผนไทย จังหวัดร้อยเอ็ด และ 3) เพื่อวิเคราะห์วิถีชีวิตของครูภูมิปัญญาด้านแพทย์แผนไทย จังหวัดร้อยเอ็ด ผลการวิจัยพบว่า การดำเนินชีวิตประจำวันของบุคคลในแต่ละสังคมบนพื้นฐานวัฒนธรรมของสังคมนั้น ๆ หลักธรรมคำสั่งสอนของพุทธศาสนาแต่ละคนดำเนินชีวิตแตกต่างกันออกไปแล้วแต่กิจกรรมในชีวิตประจำวัน วิถีชีวิตของครูภูมิปัญญาด้านแพทย์แผนไทย จังหวัดร้อยเอ็ด ได้ดำเนินตามครรลองครองธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีของไทยอีสาน ได้พึ่งพาตนเอง มีความขยันหมั่นเพียร ประหยัดและอดออม ปฏิบัติตามกฎหมายและขนบธรรมเนียมประเพณีของท้องถิ่นตนเองอย่างเคร่งครัด เพื่อเป็นแบบอย่างให้กับสาธุชนและประชาชนโดยทั่วไป
References
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
กรรณิการ์ สุวรรณโคต. (2536). การพยาบาลกับพฤติกรรมของบุคคล. เอกสารการสอนชุดวิชามโนมติและกระบวนการพยาบาล หน่วยที่ 1-7. นนทบุรี: สุโขทัยธรรมาธิราช.
ดรุณ เพ็ชรพลาย และคณะ. (2528) . สมุนไพรพื้นบ้าน ตอนที่ 1,2 .พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : อักษรประเสริฐ.
ทัศนา บุญทอง. (2534). แนวคิดของการดูแลสุขภาพตนเองกับการพัฒนาสุขภาพของประชาชน. วารสารสภาการพยาบาล, 6 (2), 2-11.
พระธรรมโกศาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ). (ม.ป.ป.). พจนานุกรมธรรมปัญญานันทะ .กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2542), พุทธธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 8, กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต). (2553). พุทธธรรม .กรุงเทพฯ: สหธรรมิก.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต). (2547). ภาวะผู้นำ . กรุงเทพฯ: สหธรรมิก.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต). (2551) . ฟื้นสุขภาวะยามสังคมวิกฤต. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ชุมนุมพุทธธรรมศิริราช.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต). (2557). สุขภาวะองค์รวมแนวพุทธ. พิมพ์ครั้งที่ 33. กรุงเทพฯ: ผลิธัมม์.
พุทธทาสภิกขุ. (2549). คู่มือมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.
พุทธทาสภิกขุ และปัญญานันทภิกขุ. (2544). คุณธรรมของชีวิตที่ดีงาม. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง). (2556). การวิเคราะห์อายุสสธรรม 5 : หลักธรรมที่ช่วยให้อายุยืน 5 ประการ ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พิสิฎฐ์ โคตรสุโพธิ์. (2550). ภูมิปัญญาไทยกับการพัฒนาศึกษา. ม.ป.ท.: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
วรรณา พูนพานิชย์ และคณะ. (2557). ชีวิตและวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ.
นันทพร ศรีสุทธะ. (2544). วิถีชีวิตชุมชนกับการเกิดโรคเบาหวาน กรณีศึกษาชุมชนบ้านตัว ตําบลสมัย อําเภอสบปราบ จังหวัดลําปาง. (การค้นคว้าแบบอิสระ ปริญญาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารปณิธาน
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาของบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารปณิธานถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารปณิธาน ห้ามเผยแพร่ ตัดต่อ แก้ไข หรือนำไปใช้ก่อนได้รับอนุญาต
ผู้สนใจสามารถติดต่อขอเผยแพร่เนื้อหาในวารสารปณิธานได้ที่ panidhana-human@cmu.ac.th